ทฤษฎีกับแนวคิดและวิธีการ: มุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดใหญ่อินทาราม จังหวัดชลบุรี
Keywords:
วัดใหญ่อินทาราม (ชลบุรี) จิตรกรรมฝาผนัง, จิตรกรรมฝาผนังไทย, การถ่ายภาพAbstract
การวิจัยเรื่อง ทฤษฎีกับแนวคิดและวิธีการ มุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดใหญ่อินทาราม จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประงสงค์เพื่อ 1.นำเสนอมุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนัง ที่อยู่ในระดับสายตา และปราศจากสิ่งแวดล้อมบดบังภายในพระอุโบสถ 2.ให้บุคคลทั่วไปสามารถรับรู้เรื่องราว รูปแบบทางทัศนศิลป์และเทคนิควิธีของจิตรกรรมฝาผนังจากมุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนัง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยสร้างสรรค์เชิงปริมาณใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาจากเอกสาร การสำรวจ การประดิษฐ์อุปกรณ์ถ่ายภาพ การถ่ายภาพและการผสมภาพ นำเสนอภาพจิตรกรรมและเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ได้จากการบันทึกภาพ ด้วยเทคนิควิธีการถ่ายภาพ ประกอบกับการประดิษฐ์อุปกรณ์ถ่ายภาพและเทคนิควิธีการผสมภาพ เป็นภาพที่มพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนัง เป็นมุมมองภาพจิตรกรรมฝาผนังในระดับสายตา ที่มีสัดส่วนและสีของภาพที่ถูกต้องตามสภาพในตำแหน่งปกติของจิตรกรรมฝาผนังและปราศจากสิ่งบดบังภายในพระอุโบสถ การนำเสนอมุมมองที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนัง พบวา บุคคลทั่วไปสามารถรับรู้เนื้อหาเรื่องราว รูปแบบทางทัศนศิลป์และเทคนิควิธี ดังนี้ การรับรู้ด้านเนื้อหาเรื่องราวอยู่ในระดับดี ภาพจิตรกรรมมีความต่อเนื่องของภาพ ถ่านทอดเนื้อหาเรื่อวราวได้สมบูรณ์ การรับรู้รูปแบบทางทัศนศิลป์และเทคนิควิธี อยู่ในรัดับดีที่สุด สามารถมองเห็นความต่อเนื่องของภาพจิตรกรรมในแต่ละ ผนังภาพ มองเห็นเทคนิควิธีการเขียน การระบายสี การตัดเส้น รายละเอียดความคมชัดของภาพ การจัดองค์ประดอบ การจัดวางภาพ วิธีการแบ่งกลุ่มภาพ และมองเห็นขนาด สัดส่วนของภาพได้ถูกต้องตามตำแหน่งปกติของจิตรกรรมฝาผนัง This research study “Folk-brass band culture in Phanthong district, Chonbiri” aims to study history, development, ways of life, identity, musical intellectual property, in heritance of music and the existence of Folk-brass band culture from Phanthong district, Chonburi. The research was conducted by using the qualitative research method in socio cultural. The methods were used to analyze and synthesize information of the Musicology of music. The findings were as follows.In term of history, development, and ways of life of this Folk-brass band culture in Phanthong district, Chonburi, this brass band gained knowledge from military brass band and the knowledge was carried on from generation to genertation. They have roles in the communtuty ways of life by participating in the tradition rituals that tied to thr beliefs of the community which continue to the present. In term of identity, musical wisdom, inheritance, and the existence of Folk-brass band culture from Phanthong district, Chonburi, the Folk-brass band has buil the body of knowledge on the combining of bands, recording music notation from the folk wisdom, and the band can adapt the music to the changing society, The knowledge was passed down to the the younger generation until today.Downloads
Issue
Section
Articles