จิตรกรรมฝาผนังภาคใต้: การบูรณาการรูปแบบพหุลักษณ์สู่จินตภาพร่วมสมัย

Authors

  • สมพร ธุรี

Keywords:

จิตรกรรมฝาผนัง - - ไทย (ภาคใต้), การสร้างสรรค์ (วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ), พหุวัฒนธรรมนิยม, พหุลักษณ์

Abstract

การวิจัยแบบสร้างสรรค์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคระห์รูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง หลักการเขียนที่สัมพันธ์กับคติความเชื่อ และลักษณะเฉพาะความโดดเด่นในเนื้อหาสาระ และการวิเคราะห์รูปแบบพหุลักษณ์ที่แสดงออกถึงมูลฐานที่สะท้อนค่าจำเพาะ หลัการ วิธีการของรูปแบบพหุวิธี พหุวัฒนธรรมในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้สมัยศิลปะรัฒนโกสินทร์ (ช่วงรัชกาลที่ 1-6) ให้เกิดองค์ความรู้ เพื่อนำไปบรูณาการองค์ความรู้รูปแบบพหุลักษณ์สู่จินตภาพร่วมสมัย โดยอาศัยพหุวิธี ให้เกิดความเป็นวิธีการวิจัย วิเคราะห์รูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง หลักการเขียนที่สัมพันธ์กับคติความเชื่อ และ ลักษณะเฉพาะความโดดเด่นในเนื้อหารสาระ และการสังเคราะห์มูลฐานค่าจำเพราะ หลักการ วิธีการที่มีอัตลักษณ์ในแต่ละรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบศิลปะช่างหลวงภาคกลาง รูปแบบศิลปะจีน รูปแบบศิลปะตะวัตก รูปแบบศิลปะประเพณีรัชกาลที่ 4 รูปแบบศิลปะมุสลิม รูปแบบศิลปะระฮินดู – ชวา และรูปแบบศิลปะท้องถิ่นภาคใต้ ที่มีพหุวัฒนธรรม พหุวิธีการในจินตกรรมฝาผนังของภาคใต้สมัยศิลปะระรัตนโกสินทร์ (ช่างรัชกาลที่ 1-6) โดยการนำองค์ความรู้รูปแบบพหุลักษณ์มาบูรณาการสู่บูรณาภาพร่วมสมัยให้เกิดโครงสร้างทางองค์ประกอบใหม่ให้มีความเป็นเอกภาพในความหลากหลายทั้งนามธรรมและรูปธรรม ด้วยเทคนิคทางจิตรกรรมร่วมสมัย  ผลการวิจัยแบบสร้างสรรค์เกิดองค์ความรู้ รูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง หลักการเขียนสัมพันธ์กับคติความเชื่อ และลักษณะเฉพาะความโดดเด่นในเนื้อหาสาระ และเกิดองค์ความรู้การสังเคราะห์มูลฐานค่าจำเพาะ หลักการ วิธีการที่มีอัตลักษณ์ในแต่ละรูปแบบ และเกิดผลงานจิตรกรรมร่วมสมัยที่สะท้อนถึงเนื้อหาสาระความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของรูปทรง เนื้อหารสาระเทคนิควิธีการในความหลากหลาย โดยแฝงนัยที่สะท้อนถึงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ คติความเชื่อ และให้รับรู้ได้ถึงรสชาติและกลิ่นอายความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่นภาคใต้ในจินตภาพใหม่  The purposes of this creative research were to study and analyze the model in using techniques of fine arts to create mural painting. All of these mural painting were the work which related to the cultures, beliefs in Buddhism, the contents of uniqueness of them, etc.; and to analyze, synthesize of multi-cultural models which expressed the foundation bases reflected specific values principles, methods of milt-techniques, multi-cultures, in those southern mural painting of Rattanakosin Period: from king Rama 1 to king Rama 6. The method of this research was to study and collect data and then analyze the model in using techniques of fine arts to create mural painting. All of these mural painting were the work which related to the cultures, beliefs in Buddhism, the contents of uniqueness of them and synthesize of all specific foundations, principles, and emphasized on the uniqueness of each work : the of Central Part Artists (Chang long pakglang), Chinese style, Western style, king Rama IV style, Muslims style and local southern Style. All these Fine arts mural painting were integrated with Multi- cultures, multi- work styles, multi- method crating to be the uniqueness of arts work as interesting pieces of painting in the south. The result of creative research indicated Knowledge the model in using techniques of fine arts to create mural painting. All of these mural painting were the work which related to the cultures, belies in Buddhism, the contents of uniqueness of them and Knowledge synthesize of multi- cultural models which expressed the foundation bases reflected specific values principles, methods of multi- techniques, multi- cultures, in those southern mural painting and related to the contemporary Fine art of mural paintings reflected to the beliefs, cultures and the way of life which were different of the people who lived in the same society as brotherhood which shown in the shapes, postures, techniques and methods of the work- the mural painting in the southern of Thailand and the perception of the taste and touch of local identity in southern new imagery.

Downloads