การประยุกต์ใช้ประสบการณ์การพัฒนาโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในประเทศไทยสู่การเรียนรู้และพัฒนาหัตถกรรมท้องถิ่นของประเทศจีน

Authors

  • Ye Jiabei

Abstract

จากแนวทางหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งมี ความสำคัญในการผลักดันและพัฒนาโครงการ “หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” (OTOP) ในประเทศไทย ด้วยหลักการจากผลการปฏิบัติงานและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ ทำให้เกิดแนวคิดและวิถีทางในการอนุรักษ์และพัฒนางานศิลปหัตถกรรมในประเทศไทยมากมาย ดังนั้นจึงควรค่าแก่การศึกษาเพื่อนำมาเป็นแบบอย่าง รวมทั้งเพื่อเรียนรู้ข้อดีต่าง ๆ โดยบทความนี้จึงเป็นการวิเคราะห์จากการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายและการพัฒนาศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นในประเทศจีนและไทย โดยใช้โครงการ OTOP เป็นกรณีศึกษา ซึ่งประมวลแนวคิดสรุปจากประสบการณ์ในการศึกษาข้อมูลศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นของไทยเพื่อนำไปสู่ข้อเสนอแนะวิธีการอนุรักษ์และวิธีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดให้กับศิลปะหัตถกรรมท้องถิ่นของจีน          Under the guidance of the sufficient economic theory of the King Rama IX of Thailand, Thailand’s “One Tambon, One Product” strategy has accumulated many valuable experiences in the practice process. The experience of Thai handicraft protection and development has some valuable reference and learning. Based on the comparison of rural handicraft policies and development status between China and Thailand, as well as the case analysis of Thailand’s OTOP, this paper summarizes many experiences of rural handicraft protection and development in Thailand, and puts forward suggestions for the revitalization of rural handicraft in China.

Downloads

Published

2022-12-16