การสร้างองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมด้วยทราย

Creating Knowledge in Creating Works Sand Sculpture

Authors

  • สมพงษ์ ลีระศิริ

Keywords:

องค์ความรู้, การสร้างสรรค์ผลงาน, ประติมากรรมด้วยทราย, Knowledge, Creative Work, Sand Sculpture

Abstract

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมทราย (2) สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมทราย เพื่อนำความรู้ความเข้าใจไปสู่การพัฒนาการสร้างสรรค์ประติมากรรมทราย โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เพื่อนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานประติมากรรมทราย ผลที่ได้จากวิจัย (1) ค้นพบขั้นตอนในการสร้างสรรค์ ผลงานประติมากรรมทรายด้านเทคนิควิธีการสร้าง พบว่าใช้เพียงวัสดุ ทราย และน้ำ เท่านั้นรวมทั้งความชำนาญในเรื่องการคำนวณ และสร้างบล็อกไม้ขึ้นเพื่อกดบีบ อัดให้ทรายมีความแข็งแรง ซึ่งถือเป็นองค์ความรู้เฉพาะด้านกรรมวิธีของประติมากรรมทรายมักนิยมใช้ทักษะแบบการสลัก หรือสกัดเอาส่วนที่ไม่ต้องการออกจนเหลือรูปทรงที่ต้องการ อีกทั้งยังมีการเคลือบเก็บผิวด้วยการฉาบผิวด้วยทรายละเอียด (2) ได้เกิดการนำเอาองค์ความรู้ที่ได้มาสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมทรายที่สะท้อนถึง เนื้อหา แนวคิดของคติความเชื่อ และจิตใจ รวมทั้งประเพณี วิถีชีวิตของคนอีสานที่โดดเด่น ในเดือนเมษายนของทุกปี ได้เป็นอย่างดี  This research has the following objectives: (1) to study and research the knowledge of creating sand sculptures; (2) to create sand sculptures and apply the knowledge to develop sand sculpture creations by using Knowledge Management to create sand sculp- tures. Results from the research (1) discovered the process of creating sand sculptures, techniques, methods of creation, found that only sand and water could be used, as well as expertise in calculations. Including the creation of wooden blocks for pressing and compressing sand to be strong, which is considered a specialized knowledge. The process of sand sculpture is popular, using the skill of carving or extracting unwanted parts until the desired shape remains, and also coating the surface with fine sand blasting (2) Bringing the acquired knowledge to create sand sculptures that well reflect the content, concepts of beliefs and minds, including traditions, lifestyles of Isan people in the month of April every year.

References

ขวัญชนก การถาง. (2017). “ผีตาโขน” การออกแบบประติมากรรมตกแต่ง แหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/ 56920636.pdf, สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565

จารุพัฒน์ นาคพันธ์ (2015), ศิลปะการแสดงสดจากความเชื่อเกี่ยวกับปรากฏการณ์พญานาค, กรุงเทพ ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประเสริฐ วรรณรัตน์. (2552). ประวัติศาสตร์ประติมากรรม, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์.

ประกาศิต ประกอบผล และจิระศักดิ์ สังเมฆ (2562), สงกรานต์: ปริศนาธรรมแห่งตํานาน วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทัศน์, 9(1), 164-178.

ประเสริฐ ศีลรัตนา. (2542) สุนทรียะทางทัศนศิลป์, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์

ปรีชา เถาทอง. (2557). “แนวทางการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการสร้างสรรค์ศิลปะวิชาการ” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.ar.or.th/ImageData/Magazine/1/DL_1.pd f?t=635679075501207971. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564

ปั้นทรายโลก. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา www.rssthai.com สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2564 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๑๖) ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก พ.ศ. 2561 - 2580 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2019/04/16-18.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565

พระศรีสุทธิพงศ์ (สมส่วน). (2560), พระเจดีย์ : การบูชาในพระพุทธศาสนา, วารสาร มจร พุทธปัญญา ปริทรรศน์, 2(1), 35-45.

วิชัย วรยศอำไพ, (2542), ทรัพยากรแร่ทรายในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ฝ่ายแร่และหินอุตสาหกรรม กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2555).การศึกษาศิลปกรรมร่วมสมัย : การเรียนรู้และสร้างสรรค์, วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ (14,1), 14

วีระจักร์ สุเอียนทรเมธี (2563) ประติมากรรมเครื่องเคลือบดินเผา, มหาวิทยาลัยศิลปากร [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/13882. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2564

สุชาติ เถาทอง. (2536) หลักการทัศนศิลป์ / Imprint, (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : อักษรกราฟิค.

สามารถ จับโจร, อาวุธ คันศร และคณะ (2018) การสร้างสรรค์ประติมากรรมพุทธศิลป์นุสรณ์ 100 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (10,2), หน้า 231- 252

อธิวุธ งามนิสัย (2018), ศิลปกรรมไทย ศิลปกรรมสื่อผสม. ศิลปะไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/6371, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2564

อุทิศ ชูช่วย (2008) บทสัมภาษณ์ “ประติมากรรมพญานาคพ่นน้ำ” [ออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.songkhlacity.go.th/2020/ travel/detail/9/data.html&cd=3&hl=th&ct=clnk&gl=th, สืบค้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2565

Jaikham, Nipaporn. (2006). Learning and knowledge transfer process of wooden elephantcarving group Ban Chang Nak, Amphoe San Kamphaeng, Changwat Chiang mai. Master of Education (Vocational Education), Chiang Mai University.

World Sand Sculpting Academy - SAND ART. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.wssa.eu/, สืบค้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2565

Downloads

Published

2023-09-25