การสร้างสรรค์ทับทรวงตัวพระ ด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรม

Creative Ornament in the Thanimpimpaporn jewelry with Innovative Thinking

Authors

  • สมศักดิ์ ทองปาน

Keywords:

การสร้างสรรค์, ถนิมพิมพาภรณ์, ทับทรวงตัวพระ, นวัตกรรม, เครื่องประดับแบบประยุกต์, Creativity, Ornament, Breastplate for men, Innovation, Applied jewelry, Innovative Thinking

Abstract

บทความวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ทับทรวงตัวพระ ด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรมจากการศึกษารูปแบบอัตลักษณ์ของทับทรวงพระในละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่าเราสามารถออกแบบทับทรวงตัวพระ ในรูปแบบประยุกต์สร้างสรรค์ ด้วยเหตุผลที่จะสร้างประโยชน์กับพื้นที่ด้านหลังของตัวทับทรวง ซึ่งมีความบางเบาใช้ประกอบการแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ไทย ด้วยแนวคิดที่จะทำอย่างไรให้พื้นที่ด้านหลังของทับทรวงตัวพระเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า กล่าวคือมีความสวยทั้งด้านหน้า และมีประโยชน์ที่ด้านหลังของชิ้นงานในการจัดเก็บของมีค่าส่วนตัว สร้างการเปลี่ยนแปลงในงานถนิมพิมพาภรณ์ ในรูปแบบใหม่ เป็นทรัพย์สินทางปัญญา กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ "Innovation Thailand" ซึ่งได้นำวิชาศิลปะสาระนาฏศิลป์มาเชื่อมโยงในการจัดการเรียนรู้มาพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ซึ่งนวัตกรรมใหม่ การประดิษฐ์ “ทับทรวงตัวพระ” รูปแบบนี้ไม่เคยปรากฏมาก่อน ในแวดวงเครื่องประดับประกอบการแต่งกายการแสดงนาฏศิลป์ไทย  This research article aims to explore the creative ornamentation in Thanimpimpaporn jewelry through innovative thinking by studying the identity patterns of pendants from the past to the present. These ornaments are applied creatively to men's breastplates, serving both decorative and practical purposes. The idea is to effectively utilize the space behind the breastplate, enhancing not only its aesthetic appeal but also providing a convenient storage area for personal valuables. This transformation in Thanimpimpaporn's work represents a new form of intellectual property and innovation, earning recognition as 'Innovation Thailand.' The invention of the 'Pendant' Breastplate for men marks a groundbreaking addition to the repertoire of accessories used in Thai dance performances, unparalleled in its uniqueness and utility.

References

กนกพร ตั้งมนัสไชยสกุล. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการคิดเชิงนวัตกรรมภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงและการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของผู้บริหารในสายอาชีพวิศวกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). นวัตกรรมเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2558). เปิดประตูสู่อาเซียนด้วยการคิดเชิงนวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์. จุลสาร ป.ป.ช.“สุจริต”, 15(55), 43-45.

ชัยณรงค์ วงศ์ธีรทรัพย์. (2557). ถอดรหัสแนวคิด เพื่อชีวิตที่มีคุณค่า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฏฐภัทร จันทวิช และคณะ (2559).เครื่องประดับตกแต่งร่างกายหรือถนิมพิมพาภรณ์ : กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. รุ่งศิลป์การพิมพ์

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกและแนวคิดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสาน เพื่อการออกแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตรระดับปริญญาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: ม.ป.ท.

ปณิตา ทิพย์หทัย และคณะ(2552).การพัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติม เรื่อง การประดิษฐ์เครื่องศิราภรณ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิณสุดา สิริรังธศรี (2557).การยกระดับคุณภาพครูไทยในศตวรรษที่ 21.สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.).บริษัท มาตา การพิมพ์ จำกัด.

พินันทา ฉัตรวัฒนา. (2561). แนวคิดทักษะนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์กับการส่งเสริมสู่ประเทศไทย 4.0. ครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(3), 222-229.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2557). เติบโตตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูริ วงศ์วิเชียร. (2558). อนาคตภาพของคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครู สาขานาฏศิลป์ไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2560-2569). วารสารสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิจารณ์ พานิช. (2555). การศึกษาไทย 2552-2553 สู่เส้นทางแห่งอาจารย์บูชา “ครูเพื่อศิษย์” ส.ค.ส. 2553. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อสังคม.

สิริกมล มงคลยศ. (2565). การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมสำหรับครูระดับชั้นมัธยมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคกลาง : การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามประสบการณ์การทำงาน. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุวิชญ์ รัศมีภูติ.(2536). เครื่องศิราภรณ์ (ศึกษาเฉพาะกรณีหัวโขน). ฝ่ายช่างสิบหมู่ กองหัตถศิลป์.กรมศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อรชร ปราจันทร์. (2560). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Amelink, C., Fowlin, J., & Scales, G. (2013). Defining and Measuring Innovative Thinking Among Engineering Undergraduates. In 120th ASEE Annual Conference and Exposition, June 22-23 (1-5). Atlanta: American Society for Engineering Education.

Bellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st Century Skills : Rethinking How Students Learn. Indiana: Solution Tree Press.

Ekanem, A. (2016). The Power of Positive, Creative and Innovative Thinking. California: CreateSpace Independent Publishing Platform.

Garrison, D. R. (2015). Thinking collaboratively : Learning in a community of inquiry. New York: Rutledge.

Giles, Sunnie. (2018 May 9,). “How VUCA is Reshaping The Business Environment, And What It Means for Innovation”. สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2563, จาก https://www.forbes.com.

Lee, C., & Benza, R. (2015). Teaching Innovation Skills: Application of Design Thinking in a Graduate. Marketing Course. Business Education Innovation Journal, 7(1), 43-50.

Maxwell, J. C. (2009). How successful people think: Change your thinking, change your life. London: Center Street.

Weiss, D. S., & Legrand, C. (2011). Innovative intelligence: The art and practice of leading sustainable innovation in your organization. New York: John Wiley & Sons.

Wheeler, J. (1998). The Power of Innovative Thinking: Let New Ideas Lead You to Success. New York: Career Press Inc.

Downloads

Published

2024-06-20