รูปแบบการมีส่วนร่วมเพื่อการคิดสร้างสรรค์สู่การเพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
Collaborative model for community wisdom value-creation innovative process
Keywords:
การมีส่วนร่วม, การสร้างคุณค่า, ชุมชนAbstract
การพัฒนาชุมชนให้สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชุมชนด้วยคุณค่า เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนประเทศให้มีความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีบริบท และความเป็นเอกลักษณ์ จากธรรมชาติ ศิลปะ และวัฒนธรรม ของแต่ละชุมชนที่สามารถสร้างรายได้ให้แต่ละชุมชนได้ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของคน ชุมชนจึงเป็นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาแท้จริงตามแนวความคิดและหลักการของการพัฒนาชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถนำมาใช้ในการเรียนรู้ สนับสนุนและส่งเสริมให้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความยั่งยืนของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางให้เกิดการมีส่วนร่วม และการประสานการทำงานร่วมกันของชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการของชุมชนที่สอดประสานวิถีไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขางานศิลป์ที่หลากหลาย วิธีการดำเนินการและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยจะใช้การจัดระดมความคิดเห็น (Focus Group) และการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม (Participation Observation) เพื่อหาวิถีดั้งเดิมชุมชนเพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นสินค้าที่มีรากมาจาก วิถีชีวิต ศิลปะ และธรรมชาติของชุมชน เพื่อการสืบค้นหาของดีของเด่นของแต่ละพื้นที่ และเพื่อให้ได้รูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมในการสร้างความร่วมมือของชุมชน จากการทดลองวิจัยครั้งนี้พบว่า กระบวนการสืบค้นข้อมูลโดยการลงพื้นที่ และการทำค่ายร่วมกันช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์และสามารถสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้แก่คนในชุมชน สามารถสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์แก่เหล่านักออกแบบรุ่นใหม่ นักออกแบบอาชีพในสายงานต่าง ๆ ให้สามารถนำเอาของดีของเด่นของ และเรื่องราวของชุมชนร้อยเรียงมาเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบ กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนถึงคุณค่าของชุมชนผ่านวัตถุดิบ เรื่องเล่า งานหัตถกรรมได้อย่างลึกซึ้ง จากการเปิดรับกลุ่มบุคคลภายนอกพื้นที่ (Outsider) มาร่วมกันทำงานในลักษณะสร้างคุณค่าร่วมกัน (Creating Shared Values) กล่าวคือ ไม่ต้องดำเนินการในสิ่งเดียวกันหรือทำงานร่วมกันในทุกกระบวนการของการพัฒนา เพราะแต่ละกลุ่มมีศักยภาพและข้อจำกัดที่แตกต่างกันออกไปแต่สามารถสร้างสรรค์คุณค่าร่วมกัน Community development in order to drive community economy is a part country’s economic sustainability. Thailand has its context and uniqueness from nature, arts and culture from which each community can generate their own income. Participation of members in the community means actual collaboration among members to develop the community, according to the concept and principle of community development. This aims for community learning, support and encourage the process of efficient mutual learning within the community and economic sustainability of the community. This research proposes guidelines for participation and coordination among community members and stakeholders in order to add value to products and services representing Thai tourism, Thai identity and various artistic local wisdoms of each community. Data from focus group and participation observation was collected. The objective was to discover traditional way of life of the community and use it to create products that are rooted from traditional way of life, arts and nature of the community. This is in order to detect special and unique products of each community and to acquire the optimal way of cooperation among the members of the community. The study showed that designing added value products representing value of the community required not only special and unique products of each community, but also stories of the community. Field studies, interviews and focus group interviews allowed interactions and inspiration to create new products among members of the community, young designers, professional designers from various fields. The research outcome indicated that allowing outsiders to work together will create the shared value. In other words, it is not necessary to perform the same work or work together in every process. Each stakeholder has different capabilities and limitations that can complement each other in creating shared value.References
เฉลียว บุรีภักดี, เฉียบ ไทยยิ่ง, ภัทรามน จ าปาเงิน, บุญเรือง ศรีเหรัญ, ลือชา ธรรมวินัยสถิต, มยุรี วัดแก้ว, วันทนา กลิ่นงาม, รวิวงศ์ ศรีทองรุ่ง, ทรงจิต พูนลาภ และประพีร์พร อักษรศรี. (2545). ชุดวิชาการวิจัยชุมชน ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตการจัดการและประเมินโครงการ. นนทบุรี: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
ชาติชาย ณ เชียงใหม่ (2545). วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่นสถาบันพระปกเกล้า. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ : สถาบันพระปกเกล้า.
ไพรัตน์ เตชะรินทร์. (2524). การบริหารงานพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.
วรพล โสคติยานุรักษ์. (9 ตุลาคม 2557). CEO Talk ตอน ตลาดทุนเพื่อพัฒนาธุรกิจด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ. สืบค้นจาก https://bit.ly/2WK1Rjv
วิไลวรรณ ทวิชศรี (2560). อัตลักษณ์ชุมชน : แนวคิดและการจัดการเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยหลักพุทธ สันติวิธีของเทศบาลตำบลเชียงคาน จังหวัดเลย. Journal of Arts Management, 1(2). 63-74.
สัญญา เคณาภูมิ (2551). ความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนใน 4 จังหวัดชายแดนลุ่มน้ำโขง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สุภางค์ จันทวานิช (2554). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
James, T. & Zagefka, H. (2017). The effects of group memberships of victims and perpetrators in humanly caused disasters on charitable donations to victims. Journal of Applied Social Psychology, 47(8).446-458.
Scharmer, C. O. (2007). Theory U: Leading form the future as it emerges. Cambridge: SoL Press.
Cohen, J.M. & Uphoff, N.T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measure for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies. New York: Cornell University Press.
Nelson, C. , Ramsey, C. & Verner, C. (1960) . Community Structure and Change. New York: The Macmillan Company
Nuntaboot, K. (2009). Utilization of community research for developing nursing innovation in communities and transforming crisis to wellness society. The 4th National Nursing Research Seminar “Nursing Research: A Challenge of Transforming Crisis to Wellness Society”, Bangkok. United Nations. (1981). Yearbook of International Trade Statistics. United Nations: UN Press. BuriPhakdee, C., ThaiYing, C., Nampa-ngoen, P., Sriran, B., Thamavinaisathit, L., WatKaew, M., Klinngam, W., Srithongrung, R., Phunlarp, S. & AsksornSri, P. (2002). Community Research Academic Series, Characteristic Learning Series. Management courses and graduate programs. Nonthaburi: S. R. Printing Mass products. (In Thai)
Chanthawanich, S. (2011). Data Analysis in Qualitative Research. (10th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai)
Kenaphum, S. (2008) . The success of community enterprises of four provinces in the Mekong basin. Thesis of Doctor of Public Administration Program in Public Administration, Graduate School, Valaya Alongkorn Rajabhat University under The Royal Patronage. (In Thai) Mettgarunmind, M. (2010). Educational administration with participation: people, local government organizations and government agencies. (2 nd ed.). Bangkok: Book Point. (In Thai)
Na Chiangmai, C. (2002). The College of Local Government Development. (2nd ed.). Bangkok: King Prajadhipok's Institute. (In Thai)
Socatiyanurak, W. (October 9, 2014). CEO Talk at the capital market to develop science, technology and innovation businesses of the country. Retrieved from https://bit.ly/2WK1Rjv. (In Thai)
Techarin, P. (1981). Rural Development Administration. Bangkok: Thai Wattana Panich. (In Thai)
Twichasri, V. (2017). Identity of Community: Concept and Management for SustainableTourism by Buddhist Peaceful Means of Chiangkhan Municipality, Lei Province. Journal of Arts Management, 1(2). 63-74. (In Thai)