ประเทศไทยกับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคอินโดจีน

Authors

  • วิไล เอื้อปิยฉัตร

Keywords:

ภูมิภาคอินโดจีน, ศูนย์กลางทางการเงิน, ประเทศไทย

Abstract

          ในสภาพปัจจุบันที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกได้ลดการเผชิญหน้าทางการเมืองมาเป็นการแข่งขันในเชิงเศรษฐกิจมากขึ้น ประเทศไทยซึ่งอยู่ในวงจรเศรษฐกิจของโลกจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบเศรษฐกิจการเงินให้เข้าสู่ มาตรฐานสากล (Internationalization) และเป็นระบบเดียวกับตลาดเงินของโลก (Globalization) การพยายามทำให้ประเทศเราเป็นศูนย์กลางทางการเงิน จึงถือได้ว่าเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแรงผลักดันที่จะนำประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการเงิน นอกจากจะเป็นไปตามกระแสความสอดคล้องต่อภาวะการณ์ของโลกเพื่อพัฒนาตามแนวโน้มสากลดังที่ได้กล่าวแล้ว ยังเป็นไปเพื่อลดข้อจำกัดในการระดมทุนของเอกชนในตลาดต่างประเทศ และเพื่อประโยชน์ของประเทศที่จะเกิดจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจการเงินในภูมิภาคอินโดจีน

References

“การประกอบกิจการวิเทศธนกิจของธนาคารพาณิชย์ : BIBF” เศรษฐกิจการตลาด (ก.ย.2535)

“โฉมหน้า SEC” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานประจำไตรมาส (ม.ค.-มี.ค.2535)

“ตราสารการเงิน” เศรษฐกิจสนเทศ (พ.ศ.2535)

“ไทย : ศูนย์กลางทางการเงินในอนาคต” สรุปข่าวธุรกิจ (ก.ย.2535)

“พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ : ผลกระทบต่อตลาดการเงิน” เศรษฐกิจการตลาด (ม.ค.2536)

Charoonsantikul, Vatchara, “BIBF puls Thailand on path to becoming financial Centre,” The Nation (September 1, 1992)

Deboonme, Achara. Finance potential noted : Thailand seen as regional hub given high growh.” The Nation (December 14, 1992)

Johnson, Harry G. Panama as a Regional Financial Center : A preliminary Analysis of Development Contribution, Economic Development and Cultural Change. (Jan 1976).

Panitchpakdi, Supachai. Thailand’s financial System : Strengths, Weaknesses, Current Issues and Prospects, Seminar on International Finance, Bangkok, 1984.

Park, Yoon S and Jack Zwick, International Banking in Theory and Practice, Addison-Wesley Publishing Company, 1985.

Downloads

Published

2021-08-25