ประชากรไทยผู้สูงอายุ

Authors

  • หิรัญ บรรจงปรุ

Keywords:

ผู้สูงอายุ, ไทย

Abstract

          ผู้สูงอายุ โดยทั่วไปจะหมายถึงผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สำหรับประเทศไทยมีระบบเกษียณอายุราชการเมื่อข้าราชการมีอายุครบ 60 ปี แต่ในบางประเทศอาจจะหมายถึงผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป

References

กองสวัสดิการสงเคราะห์ กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย. (2536). การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทยและต่างประเทศ เอกสารสัมมนาทางวิชาการอันดับ 12 โรเนียว 16 หน้า 20 มกราคม 2536

กองสวัสดิการสงเคราะห์ กรมประชาสงเคราะห์. กระทรวงมหาดไทย. (2536). การเปลี่ยนแปลงประสาทสัมผัสของผู้สูงอายุ เอกสารการสัมมนาทางวิชาการ อันดับ 7 โรเนียว 12 หน้า 20 มกราคม 2536

บรรลุ ศิริพานิช. คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์ กรุงเทพฯ เรือนแก้วการพิมพ์

พระศาสนโศภณ. วัดมกุฏกษัตริยาราม สวดมนต์แปล มหามกุฏราชวิทยาลัย. หน้าวัดบวรนิเวศวิหาร. พระนคร 2522

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2535). สารประชากร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2535 มหาวิทยาลัยมหิดล. ศาลายา. นครปฐม.

สมาคมคลังปัญญาอาวุโสแห่งประเทศไทย. (2535). เสียงอาวุโส ฉบับที่ 16 ธันวาคม 2535 กรุงเทพฯ: ที.พี.พริ๊นท์จำกัด.

สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2535). โภชนาการดี ชีวียั่งยืน การประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช ถนนพรานนก บางกอกน้อย กรุงเทพฯ

สำนักคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี (2535). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)

Clara Pratt Ph D.. Vital Concepts in Gerontology. Program on Gerontology Oregon State University, Corvallis, Oregon 97330. U.S.A Printed Materials. 12 pages. January 1993.

ESCAP Population Data Sheet Demographic estimates for Asian and Pacific countries and area, 1990

Downloads

Published

2021-08-25