ผลกระทบจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมต่อวิถีชีวิตของชาวภาคตะวันออก

Authors

  • เพ็ญแข วัจนสุนทร

Keywords:

การพัฒนาสังคม, ไทย, การพัฒนาเศรษฐกิจ, อุตสาหกรรม

Abstract

          พื้นที่ที่เรียกว่า ภาคตะวันออกของประเทศไทย คือดินแดนที่ตั้งของจังหวัด 7 จังหวัดได้แก่ นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด มีพื้นที่ทั้งหมด 36, 503 ตารางกิโลกเมตร โดยแบ่งพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ ดังนี้  ปราจีนบุรี 11,958 ตารางกิโลเมตร, จันทบุรี         6,338 ตางรางกิโลเมตร, ฉะเชิงเทรา5,351 ตางรางกิโลเมตร, ชลบุรี 4,363 ตางรางกิโลเมตร, ระยอง 3,552 ตางรางกิโลเมตร, ตราด      52,819ตารางกิโลเมตร, นครนายก 22,122 ตารางกิโลเมตร

References

พจมาลย์ สุวรรณณัฐโชติ. (2534). ชายฝั่งทะเลตะวันออกแดนอุตสาหกรรมใหม่ของไทย, วารสารส่งเสริมการลงทุน.

ภารดี มหาขันธ์. (2531). ภาคตะวันออกอดีต-ปัจจุบัน ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. (อกสารทางวิชาการ 8/2531)

วรรณี ยิ้มไทร. (2536). อิสเทิน ซีบอร์ดกับการเติบโตอีกครั้ง. รายงานเศรษฐกิจธนาคารกรุงไทย 26(7) : 55-68.

อานันท์ ปันยารชุน. (2535). พระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อมฉบับใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา เรื่องมิติใหม่ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม : ภาคตะวันออก จัดโดย มหาวิทยาลัยบูรพา มูลนิธิชีวจิต สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาและสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 6-7 มีนาคม 2535, กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์เนติกุล, 2535.

เอกสารสรุปการจัดประชุมสัมมนาเรื่องมิติใหม่ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม : ภาคตะวันออก จัดโดย มหาวิทยาลัยบูรพา สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา มูลนิธิชีวจิต และบริษัทบ้านฉางกรุ๊ฟ จำกัด 6-7 มีนาคม 2535, กรุงเทพฯ บริษัทบ้านฉางกรุ๊ฟ จำกัด, 2535,

Eastern Seaboard Study for the National Economic & Social Development Board. Sector Studies: Urban Development. Bangkok : Coopers & Lybrand Associates. 1982.

Final Report : Eastern Seaboard-Regional Environmental Management Plan. V.2, 3. Bangkok : Office of the National Environment Board With Seatec International, 1986.

Downloads

Published

2021-08-27