รามเกียรติ์กับวัฒนธรรมไทย

Authors

  • สมพร สิงโต

Keywords:

วรรณคดีไทยกับวัฒนธรรม, วรรณคดีไทย, วัฒนธรรมไทย, รามเกียรติ์

Abstract

          วรรณคดีเป็นภาพสะท้อนของสังคมและวัฒนธรรมทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม อันได้แก่ ค่านิยม ความคิด ความรู้สึก ความปราถนาและอุดมการณ์ การสะท้อนภาพดังกล่าวเป็นการสะท้อนความคิดส่วนหนึ่ง โดยผ่านประสบการณ์และจินตนาการของผู้เขียน มิใช่เป็นการสะท้อนอย่างการบันทึกของนักประวัติศาสตร์ ความจริงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ปรากฎในวรรณคดีนั้น เป็นเพียงส่วนประกอบที่สอดแทรกไว้ตามควรแก่กาลเทศะเท่านั้น อนึ่งวรรณคดียังมีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมอีกด้วย

References

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ก). รามเกียรติ์ เล่ม 1. 2494 หน้า 10.

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ข). รามเกียรติ์ เล่ม 2. 2494 หน้า 896.

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ก). เล่มเดิม. หน้า 529.

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ข). เล่มเดิม. หน้า 930.

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ก). เล่มเดิม. หน้า 171.

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (ข). เล่มเดิม. หน้า 902-903.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทวาทศมาส. 2505. หน้า 5.

ประวัติและโคลงกำสรวลศรีปราชญ. พิมพ์ครั้งที่ 4. 2513. หน้า 60.

พระมหานาค โคลงนิราศพระบาท,” ในนิราศนรินทร์คำโคลงและนิราศปลีกย่อย. 2513. หน้า 181.

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร. “กาพย์ก่อโคลงนิราศพระบาท,” ในพระประวัติและพระนิพนธ์ร้อยกรอง, พิมพ์ครั้งที่ 4. 2513 . หน้า 100.

Downloads

Published

2021-08-24