การจัดช่วงชั้นทางสังคม ในองค์การแบบราชการของไทย
Keywords:
ชนชั้นในสังคม, ไทย, ระบบราชการAbstract
สมาชิกทุกคนในแต่ละสังคม มีความแตกต่างกันทั้งทางกายภาพและชีวภาพ รูปร่าง หน้าตา ความคิด ความเป็นอยู่ ฯลฯ แต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน (แม้จะเป็นฝาแฝดกันก็ตาม) ถ้าทุกคนเหมือนกันหมดทุกสิ่ง โลกคงจะสับสนวุ่นวาย จำแนกไม่ได้ว่าใครเป็นใคร เกณฑ์เบื้องต้นที่นำมาใช้จำแนกมนุษย์ให้แตกต่างกันน่าจะเป็นเรื่องเพศ เพราะเมื่องแรกคลอดออกมาสัญลักษณ์ (Symbol) ของความเป็นชายและหญิงสามารถใช้แบ่งสถานภาพทางสังคม (Social status) ให้กับสมาชิกใหม่ได้เป็นอย่างดีReferences
เกศินี หงสนันทน์. (2517). การบริหารรัฐวิสาหกิจ : Self-Management. ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (ม.ป.ป.). รัฐวิสาหกิจของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว,
เกศินี หงสนันทน์, พิพัฒน์ ไทยอารี และชุติมา วงศ์วิเศษ. (2521). ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจไทยฯ เล่ม 1. สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะรัฐศาสตร์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. (2531). สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพศาล ชัยมงคล. (2519). รัฐวิสาหกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
วุฒิชัย มูลศิลป์ และสมโชติ อ๋องสกุล. (2524). มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะห์ เปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แสงรุ้งการพิมพ์.
Abrahamson, Mark, Mizruchi, Ephraim H” and Hornung, Carlton A. (1976). Stratification and Mobility. New York : Macmillan Pubishing Co., Inc.,
Eisenstadt, S.N. (ed.). (1968). Max weber on Charisma and Institution Building. Chicago : The University of Chicago Press.
Nobbs, Jack. (1983). Sociology in context. Hong Kong : Macmillan Education.
Thio, Alex. (1986). Sociology an introduction. New York : Harper & Row, Publishers.
Thompson, Victor A. (1963). Modern Organization. New York : Alfred A. Knopf.