https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/issue/feed วารสารเทคโนโลยีการศึกษา 2022-10-09T06:39:52+00:00 edutech journal.Libbuu@gmail.com Open Journal Systems วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/52 การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ที่สำเร็จการศึกษาระหว่างปีการศึกษา 2533-2541 ของมหาวิทยาลัยนเรศวร 2010-11-26T16:25:42+00:00 สัญญา วันงาม journalLibbuu@gmail.com ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ journalLibbuu@gmail.com <p>งานวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อ 1) สำรวจความคิดเห็นของบันฑิตที่มีต่อการจัดการศึกษาในสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาในด้านหลักสูตร วิธีสอน การประเมินผลของอาจารย์ อุปกรณ์การสอนและระยะเวลาในการศึกษา 2) เพื่อประเมินผลการฎิบัติงานของบันฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ที่สำเร็จการศึกษา ระหว่างปีการศึกษา 2533-2541 มหาวิทยาลัยนเรศวร ตามความเห็นของผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้างและผู้ร่วมงานของบันฑิต การดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ซึ่งผู้วิจัยได้ออกแบบเครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 3) แบบสอบถามสำหรับผู้ร่วมงานของบันฑิต ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นของบันฑิตที่มีต่อการจัดการศึกษาในสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาในด้านหลักสูตร ควรมีหลายวิชาเอก วิธีสอนควรเน้นการปฏิบัติให้มากกว่านี้ การประเมินผลของอาจารย์ ควรประเมินผลการเรียนเป็นกลางมากกว่าที่ผ่านมา และอาจารย์ทุกคนควรช่วยกันกำหนดแผนการสอนและประเมินผลให้สอดคล้องกับอุปกรณ์การสอน ควรมีเครื่องมือให้ปฎิบัติมากกว่านี้ควรมีอุปกรณ์ใหม่ๆ ให้เรียนรู้ และระยะเวลาในการศึกษาพอดีแล้ว ผลการปฏิบัติงานของบันฑิตระดับมากในเรื่องปริมาณงานที่ได้รับมอบหมายเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอื่นที่ปฎิบัติงานคล้ายคลึงกัน และผู้ร่วมงานของบัณฑิต ที่มีต่อการปฎิบัติงานของบันฑิตระดับมากในเรื่องความกล้าและเต็มใจที่จะรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการปฎิบัติงาน The purpose of this research were 1.) survey opinion of under- graduates in academic management of educational technology and communications about curriculum instruction evaluation media and period of study 2.) Examined the effectiveness of students' educational technology and communications; who finished in during 1990-1998 faculty of education, Naresuan University by opinion of chiefs officer and staffs. The procedure of survey used these instruments: - 1.) Questionnaires for under graduates 2.) Questionnaires for the chiefs or employees and 3.) Questionnaires for staffs The finding of follow up :- opinion of undergraduates in academic management in educational technology and communications about curriculum had to open more programs, emphasized more performance in teaching and instructors had to investigate criteria evaluation by behavioral instruction and fairness more than later and instructors must cooperated to allow lesson plans and evaluation that relevance with instruction media and acquired more instruments and new learning media, for period of study. Was suitable. The effectiveness on doing of undergraduates by opinion of chiefs offices or employees in amount of assignment job when compared with others. Similarity were in better level. Staffs of undergraduates show that on preferment with during and willing to be responsible for damage consequence.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/57 ความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดเห็นของนิสิตปริญญาโทสาขา เทคโนโลยีการศึกษาที่เรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมโดยวิธีการเรียนรู้ แบบผสมผสานกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ 2010-11-26T16:25:42+00:00 สาโรช โศภีรักข์ journalLibbuu@gmail.com <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนิสิตปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษาที่เรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมโดยวิธีเรียนแบบผสมผสาน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมระหว่างผู้เรียนที่เรียนในชั้นเรียนปกติกับเรียนโดยวิธีผสมผสาน 3) ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษาที่เรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมโดยวิธีเรียนแบบผสมผสาน กลุ่มทดลองเป็นนิสิตปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 59 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มโดยวิธีสุ่มแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือแผนการเรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมที่ใช้วิธีการเรียนแบบผสมผสาน และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบยมาตรฐานและค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นิสิตปริญญาโทที่เรียนโดยวิธีผสมผสานมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นิสิตปริญยาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษาที่เรียนวิชาเทคนิคและกระบวนการฝึกอบรมทั้ง 2 วิธีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกัน 3)นิสิตปริญญาโทที่เรียนโดยวิธีผสมผสานพึงพอใจในการเรียนแบบผสมผสานในระดับดี The objective of this research were: 1) to compared pre-test score and post-test score of educational technology graduate students who learned Training Technique and Process Course by Blended Learning 2) to compared learning achievement between the graduate student learned by ordinary classroom and blended learning 3) to study satisfaction of graduate students who learned by blended learning. The 59 educational technology graduate student who learned Training technique and process course in semester two in year 2006 were devided in 2 group by simple random sampling, 29 students were control group and 30 students were experimental group. The instruments in this research were instructional plan in Training Technique and Process that used blended learning, pre-test and post-test form.Statistics were used mean standard deviation and t-test. The research result show that: 1) the graduate students that learned by blended learning have post-test score higher than pre-test score at.05 significance 2) the achievement score between control group and experimental group were not difference 3) the experimental group have good satisfaction in blended learning.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/77 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มที่มีต่อการรับรู้ล่วงหน้า (Preconception) กับความพยายาม (Mental effort) ที่ใช้ในขณะเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) 2010-11-26T16:25:42+00:00 สุมาลี ชัยเจริญ journalLibbuu@gmail.com สราวุธ จักเป็ง journalLibbuu@gmail.com อิศรา ก้านจักร journalLibbuu@gmail.com นารี ขันแก้ว journalLibbuu@gmail.com <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มที่มีต่อการรับรู้ (Preconception) เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนร็บนเครื่อข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ความพยายาม (Mental effort) ที่ใช้ในขระเรียน และความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มที่มีต่อการรับรู้ล่วงหน้า (Preconception) กับความพยายาม (Mental effort) ที่ใช้ในขณะเรียน กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนระดับปริญญาตรี สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 212 300 สื่อการสอนในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2547 จำนวน 11 คน ผลการวิจัย สรุปได้ ดังนี้ ผลการวิจัย 1.แนวโน้มการรับรู้ล้วงหน้า (Preconception) ของผู้เรียนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯผู้เรียนมีแนวโน้มการรับรู้ล่วงหน้าเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯ ทั้ง 4 รายการอยู่ในระดับมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวโน้มเกี่ยวกับความคาดหวังว่าสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯจะช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้ 2.การประเมินตนเองเกี่ยวกับความพยายามที่ใช้ในขณะเรียน (mental effort) จากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เรียนบนเครื่อข่ายฯ พบว่า ผลการประเมินตนเองของผู้เรียนเกี่ยวกับความพยายามที่ใช้ในขณะเรียนทั้ง 3 รายการอยู่ในระดับมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งความพยายามในการทำความเข้าใจในขณะเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯ 3.ความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มการรับรู้ล่วงหน้า (Preconception) กับ ความพยายามที่ใช้ในขณะเรียน (Mental effort) พบว่าแนวโน้มการรับรู้ของผู้เรียนเกี่ยวกับความชอบที่จะเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯ กับ การประเมินตนเองเกี่ยวกับความพยายามที่ใช้ในการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมทางเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯ ปรากฎว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับแนวโน้มการรับรู้เกี่ยวกับความยาก ความคาดหวัง และความกระตือรือร้น ไม่พบความสัมพันธ์กับการประเมินตนเองเกี่ยวกับความพยายามด้านอื่นๆ ได้แก่ ความตั้งใจ และ ความคิด (Cognitive Load) ที่ใช้ในขณะเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครื่อข่ายฯ This study aimed to examine the learners’ preconception toward constructivist web-base learning environments, the learners' mental effort while they were learning with constructivist web-based learning environments and to explore a relationship between the learners' preconception and mental effort. The target group was 11 students who enrolled 212 300 Instructional media in the 1 semester, Faculty of Education. One-short case study was employed in this study. The data were collected and analyzed using descriptive and the protocol analysis The revealed that: 1) The learners' preconception toward constructivist web-based learning environments It was found that all of learners' preconceptions toward constructivist web-based learning environments were high such as difficulty, prefer­ence, curiosity and expectation to learn with constructivist web-based learning environments. 2) The aelf report of learners' mental effort while they were learning with constructivist web-based learning environments It was foud that learners' mental effort while they were learning with constructivist web-based learning environments were high, such as intention, cognitive load and especially effort that the learners invested while they were learning. 3) To explore a relationship between the learners' preconception and mental effort The results revealed that the relationship between the learners, preconception and the effort. The dimension of preference was significantly correlated with mental effort that the learners invested while they were learning with constructivist web-based learning environments at .05 levels.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/83 องค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา= The causal factors of learning environment on the academic achievement of educational technology student 2010-11-26T16:25:42+00:00 พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ journalLibbuu@gmail.com มนตรี แย้มกสิกร journalLibbuu@gmail.com <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา และศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเจตคติในการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อค้นหาปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณใช้เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาจากนิสิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาตรี ภากปกติ ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2548 ในมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 10 แห่ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษาจากประชากรนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกบา 2548 ในมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 850 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์แนวคำถามปลายเปิด ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม SPSS for Windows หาค่าสถิติพื้นฐาน และการวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่ เทคนิคการสอน บรรยากาศในการเรียน การสอน เจตคติในการเรียน สื่อและเทคโนโลยีการสอน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในภาควิชา และความสัมพันธ์กับเพื่อน ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาที่ระดับนัยสำคัญ .05 ได้แก่ เจตคติในการเรียนเทคนิคการสอนของอาจารย์ บรรยากาศในการเรียนการสอน สื่อ และเทคโนโลยีการสอน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในภาควิชา สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียน และความสัมพันธ์กับเพื่อน โดยมีค่าอิทธิพลเท่ากับ 306, .303, .259, .207, .117, .113 และ .105 ตามลำดับ รูปแบบความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ได้ร้อยละ 51 The purposes of this research were (1) to study the causal factors relate to the learning environment and the academic achievement of educational technology students, (2) to explore the causal relationship between factors relate to the learning environment and the academic achievement of educational technology students. The sample group consist of 850 students from the Department of Educational Technology in public universities. The instruments u.se for collecting data were (1) a interview form (2) a questionnaire consisting of 5 point rating scale. Then the data was analyzed using SPSS for Windows to determine the mean, standard deviation, simple correlation and path analysis. The research result showed the following: (1) the causal factors relate to the learning environment that were rate on average at a high level involved the teaching technique, the learning environment and attitude towards learning. (2) the causal relationship between factor related to the learning environment and the academic achievement was at a level of statistical environment of .05 Factors relate to the learning environment affecting academic achievement, included attitude towards learning, teaching technique, learning environ­ment, teaching aids, department's environment, classroom environment and peer relationships possessed a total influence value of .306, .303, .259, .117, .113, .105 respectively. The causal relationship model of factors relate to the learning environment influencing academic achievement could explain and predict the relationship of whole system with a level of accuracy of 51 percent.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/79 เมนทอลโมเดลของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ที่เรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ = Mental models of the learniers learning with constructivist web-based learning environments 2010-11-26T16:25:42+00:00 อนุชา โสมาบุตร journalLibbuu@gmail.com สุมาลี ชัยเจริญ journalLibbuu@gmail.com <p>The study aimed to design and develop web-based learning environments developed based on Constructivism and the examine learners' mental models of the learners learning with Constructivist web-based learning environments in Drugs from Animal Material. The target group was 25 third-year students in 612 511 course (Drugs from Animal Material) of the Pharmaceutical Sciences curriculum, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Khon Kaen University in the second semester, academic year 2005. The One-Shot Case Study was employed. Qualitative data analysis were used; mental models were analyzed by protocol analysis. The results of the study 1) Designing and developing Constructivist web-based learning environments were conducted and a Constructivist principles and theories from related documents and researches. Constructivist Theory and Media Attribution were applied to design conceptual framework for designing the web-based learning environments. The key principles components were problem bases, resources, collaboration, scaffolding, coaching and communication tools. 2) Learners' mental models were analyzed according to two fundamental types of mental models analysis: 1) Declarative Knowledge and 2) Procedural Knowledge. The results revealed that in Declarative Knowledge, learners constructed their mental models into three types: 1. Complex Schema, 2. Detail to General and 3. Concrete to Abstract. These meant learners could connect each various cognitive unit in complicated way. For Procedural Knowledge, the results were varied depending on their style of learning. This also illustrated how learners can construct and connect their knowledge; their cognitive conflicts were aroused by problem based, and then they tried to adjust their schema structure to be equilibrium by discovery learning from resources and other links. 3) In opinion regarding, the majority of the learner expressed their appreciation of contents, media and design of web-based learning on Constructivism. Learners were encouraged to study independently, build their mental models, had various access to learning opportunities and be able to solve both in-class and real-life problems. Media attribution, media symbol system and particularly hyperlinks which were composed of nodes to infinite information, enhanced and supported learners' knowledge construction.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/education/article/view/88 การพัฒนาบทเรียนทางเว็บแบบปรับเหมาะวิชาการจัดหมวดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้= The development of an adaptive web-based instruction on Dewey Decimal Classification 2010-11-26T16:25:42+00:00 แววตา เตชาทวีวรรณ journalLibbuu@gmail.com <p>การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนทางเว็บแบบปรับเหมาะวิชาการจัดหมวดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ซึ่งบทเรียนมี 3 รูแบบ ได้แก่ แบบยาก แบบปานกลาง และแบบง่าย และปรับเหมาะดดยนำเสนอเนื้อหาในปริมาณที่เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยอัตโนมัติ ระบบจะเก็บข้อมูลพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนว่าอยู่ในระดับใดและจัดส่งบทเรียนหนึ่งในสามรูปแบบที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนนั้น เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบปรับเหมาะตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนทางเว็บแบบปรับเหมาะ กับกลุ่มผู้เรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตชั้นปีที่ 2 ระดับปริญญาตรี วิชาเอกบรรณารักษ์ศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งไม่เคยลงเรียนวิชาการจัดหมวดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และแบบประเมินคุณภาพทางเว็บแบบปรับเหมาะจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า บทเรียนทางเว็บแบบปรับเหมาะวิชาการจัดหมวดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.25/80.94 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มผู้เรียนด้วยบทเรียนทางเว็บแบบปรับเหมาะสูงกว่ากลุ่มผู้เรียนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 The main purposes of this research were to construct and to find out the efficiency of an Adaptive Web-Based Instruction on Dewey Decimal Classification System. The course content was designed to be adaptive to learning ability at three levels: low, medium, and high. The system would automatically collect data of each learner's behavior, determine the level of his learning ability, and provide the suitable lesson for him. In addition, this web­ based instruction evaluated using 80/ 80 efficiency criteria. Lastly, a study was to compare learning achievement of the subjects who learned through the Adaptive Web­ Based Instruction and those who learned through traditional methods. The purposive sample used in this study consisted of 30 undergraduate students of Srinakharinwirot University who were studying in Year 2,majoring in Library and Infor­mation Science. The sample had never studied the LIS 321 Dewey Decimal Classification. The research instruments included the Adaptive Web-Based Instruction, the Learner's Achievement Test, and the Experts' Quality Evaluation Form. The finding revealed that : the Adaptive Web-Based Instruction on Dewey Decimal Classification met the efficiency criteria at 81.25/ 80.94, and the learning achievement of the students who learned through the Adaptive Web-Based Instruction was significantly higher than those who learned through traditional , Methods at 0.01 level.</p> 2022-10-09T00:00:00+00:00 Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีการศึกษา