การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
Keywords:
วิทยาศาสตร์, การศึกษาและการสอน, กิจกรรมการเรียนการสอน, วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวันAbstract
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปใช้ในชีสิตประจำวันควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและบูรณาการกับวิชาอื่นๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นความสัมพันธ์ของวิชาวิทยาศาสตร์และศาสตร์แขนงอื่นๆ ว่ามีความเกี่ยวข้องกัน โดยผู้สอนอาจใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มากกว่า 1 แบบในการจัดการเรียนรู้ได้ เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สามารถใช้กิจกรรมการเรียนรู้หลายแบบร่วมกันดังนี้ คือการบูรณาการ การออกแบบย้อนกลับ พหุปัญญา และโครงงาน เป็นต้น โดยพื้นฐานการจัดกิจกรรมที่ดีซึ่งจะทำให้เรียนรู้ได้ง่ายขึ้นตั้งอยู่บนทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองของวีก็อทสกี้ In regard to instruction in and the study of science for everyday use, student-centered learning activities should be emphasized. This pedagogical approach to science should also be integrated with other academic subjects, so that students will be able to see the interconnections between science and other subject areas. As such, it is well for teachers to use more than one set of learning activities or approaches in learning organization in teaching science. Learning activities pertaining to life and the environment, for example, can be taught through a variety of teaching approaches involving, for instance, integration, backward design, capitalizing on Gardner’s model of multiple intelligences, variegated individual student projects, and so on. The basis for organizing activities should be grounded in the theory of the construction of cognitive meaning by virtue of which students learn through participation in activities facilitated by teachers, as propounded in the social cognition theoretical framework of Lev Vygotsky.Downloads
Issue
Section
Articles