Learning to Become English Teachers: Navigating Emotions in Identity Development and Identity Improvisation During a Teaching Practicum
Keywords:
Teacher identity, identity development, identity improvisation, emotion, student Teachers, teaching practicum, อัตลักษณ์ความเป็นครู, การพัฒนาอัตลักษณ์, อัตลักษณ์เฉพาะการณ์, อารมณ์, นิสิตฝึกสอน, การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูAbstract
This study is an exploration of teacher identity development in student teachers during a teaching practicum and the decision to enter the teaching profession after the teaching practicum. Guided by narrative inquiry, I employed classroom observations and life story interviews to collect the data. Two student teachers were purposefully selected to participate in this study. The data were analyzed by the thematic analysis method. The data revealed that the process of teacher identity development mostly relied on the emotions, resulted from socio-cultural factors and the differences of social construction in the school settings. Additionally, it was found the decision to enter to the teaching profession was influenced by the combination of teacher identity development, personal background, and socio-cultural factors in the school settings during the teaching practicum. For this reason, the revising curriculum to be more field-based and the collaborative work between teacher educators, mentor teachers, and student teachers during the teaching practicum should be promoted to help the student teachers develop their teacher identity during the teaching practicum. งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยนำระเบียบวิจัยเชิงพรรณา (Narrative inquiry) มาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาการพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นครูของนิสิตฝึกสอนวิชาภาษาอังกฤษระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 2 คน และเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการตัดสินใจที่จะเข้าสู่เส้นทางครูมืออาชีพของนิสิตฝึกสอนหลังจากสำเร็จการศึกษา โดยข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยในครั้งนี้มาจากการเก็บรวบรวมโดยการสังเกตการณ์การเรียนการสอน การสัมภาษณ์และการวิเคราะห์ผ่านทางวิธีแบบวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์ประเด็น (Thematic analysis) พบว่าอัตลักษณ์ความเป็นครูของนิสิตฝึกสอนจะพัฒนาได้มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับอารมณ์ของนิสิตฝึกสอนในช่วงระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมและความแตกต่างทางสถานะทางสังคมในโรงเรียนที่นิสิตฝึกสอนได้ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู การศึกษาในครั้งนี้ยังพบว่า การตัดสินใจเพื่อที่จะเข้าสู่เส้นทางครูมืออาชีพของนิสิตฝึกสอนหลังจากสำเร็จการศึกษานั้นขึ้นอยู่กับอัตลักษณ์ความเป็นครูที่พัฒนาแล้วของนิสิตฝึกสอน ปัจจัยพื้นฐานของนิสิตฝึกสอน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่นิสิตฝึกสอนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ดังนั้นการทบทวนหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมนิสิตฝึกสอนก่อนเข้าไปสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการร่วมมือกันระหว่างอาจารย์ผู้สอน ครูพี่เลี้ยง ตัวนิสิตฝึกสอนเองจะช่วยให้อัตลักษณ์ความเป็นครูในนิสิตฝึกสอนระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้พัฒนาไปได้ดีขึ้นอย่างเป็นระบบDownloads
Issue
Section
Articles