คำหลังกริยา le (了) ในภาษาจีนกลาง

The post-verbal "le" in mandarin Chinese

Authors

  • ศศรักษ์ เพชรเชิดชู

Keywords:

ภาษาจีน, ภาษาจีน – การใช้ภาษา, ภาษาจีน – คำกริยา

Abstract

The post-verbal "le" has many kinds of usage types and it seems that it has no strictly grammatical structure. It concerns with the grammatical terms of phase, tense and aspect. Thus, the object of this paper is to give a large scope of the usage of post-verbal "le" (了) in mandarin Chinese. This study will pinpoint the special characteristics in the post-verbal"le" in "V+le+N" structure which are difficult and problematic for Thai students learning chinese. Many year ago, it is found that the post-verbal "le" can show the meaning of accomplishment and achievement of situation and may be translate into Thai by using word/1 ɛ : w15 /. But after studying, it found that post-verbal "le" can be translate into Thai by using these kinds of words:/pai32/ ma32/ / dai451/and may be no any words depending on the context. เนื่องจากค่าหลังกริยา le มีการใช้ที่หลากหลายรูปแบบและดูเหมือนไร้กฎเกณฑ์ที่แน่นอน คําหลังกริยา le นี้เกี่ยวข้องกับไวยากรณ์เรื่องสภาพการณ์ กาล และสภาพ จึงทำให้เป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ภาพกว้าง ๆ เบื้องต้นของการใช้คำหลังกริยา le ในภาษาจีน เพื่อให้ทราบถึงลักษณะเฉพาะของคำหลังกริยา le ในกรอบโครงสร้าง "V+le+N" ที่ยากและเป็นปัญหาในการทำความเข้าใจของนักเรียนไทย แต่ไรมาคำหลังกริยา le สามารถบอกความหมายของการเสร็จสิ้นและสัมฤทธิ์ผลได้ โดยสามารถเทียบได้กับคำว่าแล้วในภาษาไทย แต่จากการศึกษายังพบว่าคำหลังกริยา le สามารถถอดความออกเป็นคำอื่นในภาษาไทยได้อีก เช่น คำว่า ไป มา ได้ หรือ อาจไม่ปรากฏคำใด ๆ เมื่อแปลถอดความเป็นภาษาไทย

Downloads

Published

2024-03-27