การบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ

The Vocational Education Management in Business and Service for Quality Standards

Authors

  • นิติ นาชิต

Keywords:

การบริหารอาชีวศึกษา, ด้านธุรกิจและบริการ, มาตรฐานคุณภาพ, Vocational Education Management, Business and Service, Quality Standards

Abstract

การบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ มีวิธีดำเนินการวิจัย 5 ระยะ ได้แก่ ศึกษาแนวทางการบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ, พัฒนามาตรฐานคุณภาพ กลไกลการขับเคลื่อนและคู่มือ, ทดลองใช้, ประเมิน, และเสนอแนวนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คือ แบบบันทึก แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม แบบประเมิน และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล โดยคำนวณหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ ประกอบด้วย 4ด้าน (IPOO) และ องค์ประกอบกลไก การขับเคลื่อน 7 องค์ประกอบ 2) ผลการสร้างมาตรฐานคุณภาพ กลไกการขับเคลื่อน และคู่มือการบริหาร อาชีวศึกษาด้านธุรกิจ และบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ พบว่า ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลการทดลองใช้มาตรฐานคุณภาพและกลไกการขับเคลื่อนด้วยคู่มือการบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 4) ผลการประเมินคู่มือการบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจ และบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 5) ผลการเสนอแนวนโยบายการบริหาร อาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ และการนำไปใช้สู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 ระดับ คือ ระดับสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษา ระดับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และระดับกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งผลการประเมินในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดทุกระดับ  A study on vocational education management in business and service for quality standards was generally aimed at developing vocational education management in business and service for quality standards. The study was divided into 5 phases as follows: investigating the guidelines and directions of vocational education management in business and service for quality standards; developing the quality standards, mechanism, and the manual for vocational education management in business and service; piloting the developed manual; evaluating the manual, and providing the policy. The research instruments consisted of recording forms, interviewing forms, group conversation recording forms, assessment forms, and questionnaires. The data were analyzed using mean, standard deviation, and content analysis. The research results showed that: 1) The guidelines for managing vocational education quality standards consisted of 4 aspects (IPOO) and seven drive mechanism elements. 2) The result of and mechanism in business vocational management manual and services to quality standards found that the overall average was at the highest level. Furthermore, the results of quality standards development, mechanism, and the manual for vocational education management in business and service showed that the overall average was at the highest level. The experiment results on implementing the quality standards, mechanisms through the manual for business and services towards quality standards found that the overall average was at the highest level. The evaluation of the vocational education management manual in business and service towards quality standards found that the overall average was at the highest level. Lastly, the results of the presentation of the policy guidelines for vocational education administration in business and services towards quality standards found that the policy consisted of 3 levels: the vocational education institution and the educational institution level, the Office of Vocational Education Commission level, and the Ministry of Education level. Moreover, the result showed that overall evaluation results were averaged at the highest levels.

References

กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2549). เทคโนโลยีการศึกษาวิชาชีพ . กรุงเทพฯ: สินทวีการพิมพ์. คัมภีร์ สุดแท้. (2553).

การพัฒนารูปแบบงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ณรงค์ อภัยใจ. (2560). รูปแบบการบริหารจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมอาชีพสำหรับเด็กด้อยโอกาสโรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วณิชย์ อ่วมศรี. (2556). ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาเกษตรสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

วิมล เดชะ. (2559). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สตูล. สารนิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

วิเศษ ชาวระนอง. การบริหารสถานศึกษาโดยวิธีการเชิงระบบ. สืบค้น จาก https://www.khamsoipit.ac.th

วัฒนา ฉิมประเสริฐ. (2554). การพัฒนาคู่มือครูในการจัดกิจกรรมส่งเสริมระเบียบวินัยของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย. (2560). Thailand Competitiveness Conference 2017. สืบค้น จาก http://thailandcompetitiveness.org/topic_detail.php?lang=Th&ps=70

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.(2547). มาตรฐานอาชีพ สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ: สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). วิสัยทัศน์และยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.(2562). หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง: การจัดการอาชีวศึกษา. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2564). (ร่าง) คู่มือการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา. สืบค้นจาก https://www.vec.go.th/Portals/9/Dowload/your64/Manage/28-6-64/manual.pdf

สุรัสวดี จินดาเนตร. (2553). การพัฒนาคู่มือการสอนโครงงานคณิตศาสตร์สำหรับครูในช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

แสงรุนีย์ มีพร. (2552). การวิจัยและพัฒนาคู่มือการจัดการความรู้ เพื่อการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Osterwalder, A., Pigneur, Y., & Clark, T. (2010). Business model generation: a handbook or visionaries, game changers, and challengers. N.J.: Wiley.

Prihardini Mufti, Rizal Syarif and Setiadi Djohar. (2017). Real estate business development strategy in approach to business model canvas case study at PT mekar agung sejahtera. International journal of science and research, 12(6), 564- 569.

Downloads

Published

2022-09-23