ผลของการใช้หลัก 3E และการมีส่วนร่วมต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงจากงานตัดของพนักงานในโรงงานผลิต

Effect of 3Es Principle and Participation for Reducing at Risk Cutting Behavior among Workers in a Plastic Factory, Rayong Province

Authors

  • มนต์ชัย พงษ์แสน
  • ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์

Keywords:

หลัก 3E, พฤติกรรมเสี่ยง , งานตัด , การมีส่วนร่วม , พนักงานโรงงานผลิตพลาสติก, 3Es principles, at risk behavior, cutting job, worker’s participation, worker in plastic factory

Abstract

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดผลก่อน-หลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้หลักความปลอดภัย 3E และการมีส่วนร่วมของพนักงาน ในการลดพฤติกรรมเสี่ยงจากงานตัดของพนักงานในโรงงานผลิตพลาสติกแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานตัดในโรงงานผลิตพลาสติกแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง จำนวน 25 คน และยินดีเข้าร่วมการวิจัยใช้เวลาดำเนินการ 5 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วย การปรับปรุงเครื่องมือตัดและสถานีตัด การอบรมความรู้งานตัดให้กลุ่มตัวอย่าง การออกระเบียบการทำงาน และการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสังเกตการณ์พฤติกรรมเสี่ยงขณะปฏิบัติงานตัด และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องรายข้อมากกว่า 0.5 และหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ได้ค่าความเชื่อมั่นแบบสังเกตพฤติกรรมเสี่ยงขณะปฏิบัติงานตัด และแบบสอบถามความพึงพอใจ ได้เท่ากับ 0.83 (KR-20) และ 0.82 (Cronbach’s alpha coefficient) วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปรียบเทียบความแตกต่างพฤติกรรมเสี่ยงจากงานตัดโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test ผลการศึกษาพบว่าหลังทดลอง ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มตัวอย่างลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p < 0.001) และผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 100.0 ผลการศึกษานี้ ชี้ให้เห็นว่าการใช้หลัก 3E และการมีส่วนร่วมนั้น สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง  This research was a quasi-experimental study with one group, pretest-posttest design aimed to study 3Es safety principles, and worker participation among the workers in a plastic factory in Rayong province. The subjects were 25 workers who performed cutting work at the factory and were consented to participate in the study. The trial period was 5 weeks. The experiment consisted of improvements of the cutting tools and the cutting stations, training on cutting knowledge, issuing work regulations and observation of working behavior. The tools used in the study comprised the questionnaire, the observation form to determine at-risk behavior in cutting work, and the satisfaction questionnaire. Content validity was performed by 3 experts. The index of item-objective congruence (IOC) of each item had the score higher than 0.5. The reliability of the observation form of at-risk behavior in cutting work and the satisfaction questionnaire were 0.83 (KR-20), and 0.82 (Cronbach’s alpha coefficient), respectively. The data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. The Wilcoxon signed-rank test was used to compare the difference of the at-risk cutting behavior. The results after the experiment revealed that the average score of at-risk behaviors of the subjects reduced significantly (p-value <0.001). The results of workers’ satisfaction scores towards the program was at high level (100%). Based on the results of this study, the 3Es program and workers’ participation could reduce at-risk cutting behavior among the workers in the plastic factory and the workers were satisfied with participating in the project. Therefore, the project should be continued to enhance the continual of the 3Es and participation.

References

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม. สถานการณ์สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ปี 2558-2562. กรุงเทพฯ:กระทรวงแรงงาน; 2563.

Bureau of Labor Statistics. Employer-Reported Workplace Injuries and Illnesses - 2016. [Internet]. Available from:https://www.bls.gov/news.release/archives/osh_11092017.pdf; 2016. (Cited 9 March 2019)

Heinrich HW, Petersen D, Roos N. Industrial accident prevention: A safety management approach. 5th ed. New York: McGraw-Hill Book; 1980.

วิทิต กมลรัตน์. ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายปฏิบัติการบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น) [วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต] กรุงเทพมหานครสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2552.

วิฑูรย์ สิมะโชคดี, วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น); 2548.

สราวุธ สุธรรมาสา. บทบาทผู้บริหารและการสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 2557;25: 6-12.

Occupational safety and health administration. Worker participation: recommended practices for safety and health programs. [Internet]. Available from: https://www.osha.gov/safetymanagement; 2016. (Cited 10 March 2019)

Cochran WG. Sampling techniques. 3rd ed. New York: John Wiley & Sons; 1977.

กันย์นิรินท์ ศรีบุญเรือง, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์, ธานี แก้วธรรมานุกูล. ผลของการอบรมความปลอดภัยเชิงปฏิสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการทำงานของคนงานผลิตเกมส์ไม้. พยาบาลสาร 2560; 43(3):137-148.

Verial D. How to find the Beta with an alpha hypothesis. [Internet]. Available from: https://sciencing.com/the-beststem-kits-to-get- your-kids-started-withcoding-13763826.html. 2021. (Cited 10 May 2021)

Bloom BS. Handbook on formation and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw-Hill Book Company; 1971.

Martor AG. Our three safety technologies. [Internet]. Available from: https://www.martor.com/en/safe-cutting/our-threesafety-technologies. 2020. (Cited 15 May 2020)

Centers for disease control and prevention (CDC). Workbook for designing, implementing, and evaluating a sharps injury prevention program. [Internet]. Available from: https://www.cdc.gov/sharpssafety/part 3 TEXTONLY.html. 2008. (Cited 20 May 2020)

Micro ceramic blade knives. [Internet]. Available from: https://www.sliceproducts.com/catalog/micro-ceramic-bladeknives. 2019. (Cited 21 May 2020)

มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 39 พ.ศ. 2559. ราชกิจจาณุเบกษา เล่มที่ 135, ตอนพิเศษ 39 ง (ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560).

DIN EN 388 Protective gloves against mechanical risks. [Internet]. Available from: https://www.en-standard.eu/bs-en-388-2016-a1-2018-protective-gloves-against-mechanical-risks/. 2020. (Cited 23 May 2020)

ปาณิศา สุทธิศักดิ์, สุภัทรา โสภณ, ฐนิชา ห่านทอง, ณัฏฐชานนท์ ฤกษ์ศรีประภา, ณฐพร วงศ์เกษม, รัชรพี บ่อโพธิ์. การศึกษการปรับปรุงมาตรการความปลอดภัยของพนักงานด้วยวิธีการ 3E และมาตรฐาน GMP กรณีศึกษาบริษัทชายสี่บะหมี่เกี๊ยว จํากัด. วารสารวิจยวิชาการ 2563; 4(1):139-148.

Vilarino. Workbook for Designing, Implementing, and Evaluating a Sharps Injury Prevention Program. CDC; 2013.

พิพัฒน์ นพทีปกังวาน และคณะ. (2550). ความปลอดภัยในงานวิศวกรรม. วันที่ค้นข้อมูล 12 พฤษภาคม 2563, เข้าถึงได้จาก :https://engfanatic.tumcivil.com/tumcivil_1/media/ Yotha/safety_engineer_ all.pdf

เสาวณีย์ เผ่าเมือง. พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท ซีที เอส อิเล็กทรอนิกส์ คอร์เปอร์เรชั่น (ประเทศไทย) [มหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2554

มุกดา ก่อแก้ว. การลดอุบัติเหตุมีดบาดในโรงงานอุสาหกรรม:กรณีศึกษาโรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำมันหล่อลื่น. [วิศวรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต] กรุงเทพ: วิศวรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม; 2561.

ภิรดี ลี้ภากรณ์. ปัจจัยทีมีผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมในเขตควบคุมมลพิษ ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนมาบชลูด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง. [มหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2554

พิสุทธิ์ รัตนแสนวงษ์, วรพจน์ พันธุ์คง, พงศ์ภมร ปักเข็ม. การลดอุบัติเหตุในโรงงาน [วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม; 2555

พงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. เรื่องการพัฒนารูปแบบการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมรีไซเคิลขนาดเล็ก [ดุษฎีบัณฑิต]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบรูพา; 2551

ปัทมา อุปนันท์, พนิดา นามนต์พิมพ์, ศรายุทธ งามคง, สุนทรี มีแสงนิล, ปนัดดา สรรพราช, ชลาลัย หาญเจนลักษณ์. การปรับปรุงสถานีงานเพื่อลดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อในผู้ปฏิบัติงาน เย็บจักรอุตสาหกรรม. นครราชสีมา: วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 2563; 13(1):25-35.

Soehod K. Workers’ participation in safety and health at work. Kuala Lumpur: University Teknology Malaysia; 2008

Downloads

Published

2022-09-26