Phytochemicals and Prevention of Cardiovascular Disease: Potential Roles for Tropical and Subtropical Fruits

พฤกษเคมีกับการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด : บทบาทสำคัญของผลไม้ในเขตร้อน

Authors

  • Yuttana Sudjaroen

Keywords:

Phytochemicals, Antioxidant, Tropical fruits, Cardioprotective effects, พฤกษเคมี, ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, ผลไม้เมืองร้อน, ฤทธิ์ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด

Abstract

Phytochemical-rich fruits of tropical and subtropical region have the potential ability to limit the development cardiovascular diseases. The fruits contain a variety of phytochemicals that could contribute to these protective effects, mainly flavonoids such as catechin, quercetin, rutin, etc. These constituents of fruits are likely to act by antioxidant, antithrombotic, and vasoprotective effects. The evidence suggests a potential role for dietary fruits from tropical and subtropical region in the prevention of cardiovascular diseases. The presence of a large number of minor dietary factors that protect against disease reinforces the recommendation to increase the intake of plant foods rather than any specific supplement.  ผลไม้จากเขตร้อนอุดมไปด้วยพฤกษเคมี ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดพฤกษเคมีจาก ผลไม้มีมากมายหลายชนิด สารที่มีมากที่สุดคือสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ ได้แก่ คาทีชิน ควอซีทิน ลูทีน เป็นต้น ซึ่งมีคุณสมบัติทำหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการเกิดลิ่มเลือด และช่วยให้หลอดเลือดแข็งแรง มีข้อมูลที่ สนับสนุนว่าผลไม้เมืองร้อนสามารถป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพปัจจัยดังกล่าวนำไปสู่ การแนะนำให้บริโภคอาหารจากพืชมากกว่าการได้รับจากอาหารเสริมอย่างจำเพาะเจาะจง

Downloads

Published

2023-12-25