แนวทางการบริหารจัดการน้ำที่เหมาะสมในนิคมอุตสาหกรรม พื้นที่ภาคตะวันออก
Indicator for Developing Water Management in Industrial Eastern Estates Region
Keywords:
นิคมอุตสาหกรรม, การบริหารจัดการน้ำ, นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ, น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม, การพัฒนาที่ยั่งยืน, Industrial Estate, Water Management, Eco Industrial Estate, Industrial Water, Sustainable DevelopmentAbstract
ปัญหาการจัดการทรัพยากรน้ำในอุตสาหกรรมเป็นความจำเป็นเร่งด่วนในการป้องกันการขาดแคลนน้ำใช้หรือความเครียดของน้ำโดย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการใช้น้ำในนิคมอุตสาหกรรม 2 แห่ง ได้แก่นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง และนิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการน้ำในนิคมอุตสาหกรรมพื้นที่ภาคตะวันออก และวิเคราะห์องค์ประกอบเกณฑ์ตัวชี้วัดในการบริหารจัดการน้ำในนิคมอุตสาหกรรม ผลการศึกษาพบว่าความคิดเห็นต่อเกณฑ์การบ่งชี้การบริหารจัดการน้ำที่เหมาะสมในนิคมอุตสาหกรรม โดยรวมทั้ง 2 นิคมอุตสาหกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ที่ค่าเฉลี่ย 4.13 + 0.79 โดยพบว่านิคมอุตสาหกรรมปิ่นทองมีตัวบ่งชี้การบริหารจัดการน้ำที่เหมาะสมในนิคมอุตสาหกรรมสูงกว่านิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ในระดับมากที่สุดที่ค่าเฉลี่ย 4.14 + 0.77 และนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังมีตัวบ่งชี้การบริหารจัดการน้ำที่เหมาะสมในนิคมอุตสาหกรรม ในระดับมากที่สุด ที่ค่าเฉลี่ย 4.12 + 0.83 ตัวบ่งชี้การบริหารจัดการน้ำที่ได้ค่าคะแนนน้อยที่สุดของนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ได้แก่ ด้านการเผยแพร่และการส่งเสริมการใช้น้ำ มีค่าเฉลี่ย 3.88 + 0.98 ส่วนนิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง มีตัวบ่งชี้การบริหารจัดการน้ำที่น้อยที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิภาพของระบบควบคุมการบริหารจัดการน้ำในองค์กร มีค่าเฉลี่ย 3.99 + 0.86 นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะ ให้ใช้หลักการจัดการของเสียเป็นศูนย์ ควบคุมคุณภาพของน้ำให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำอุปโภคและบริโภค บริหารน้ำสำรองให้เพียงพอต่อการใช้ในหน้าแล้ง และกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ เพื่อลดการขัดแย้งต่ออุตสาหกรรมและชุมชน เป็นการใช้ทรัพยากรน้ำร่วมกันอย่างยั่งยืน A problem in industrial water management to prevent water stress is an urgent matter. An objective of this research is to study the condition and problems in water consumption in selected 2 industrial estates, i.e. Laem Chabang Industrial Estate and Pinthong Industrial Estate. This is to improve water management in the industrial estate within the eastern region, as well as, to analyze the component indicators in water management within the industrial estate. The study reveals opinions toward the appropriate water management indicators in Industrial Estates. Both industrial estates are at an average high of 4.13+0.79. Pinthong Industrial Estate is at a higher range in comparison at 4.14+0.77. Lam Chabang Industrial Estate is at an average high of 4.14+0.83. The lowest indicators for Lam Chabang Industrial Estate is promotion of water utilization which falls within the range of 3.88-0.98. Pinthong Industrial Estate’s lowest indicator is in the efficiency of organizational water management control which is within the range of 3.99+0.86.However, The industrial estates should pay attention to all indicators Additionally, the sample group also suggested several methods, i.e. zero waste management, water quality control in water consumption, maintaining water reserve for dry seasons, and promoting community relations to reduce conflicts between industry and community for the sustainable use of water resources.References
ไทยพับลิก้า, บรรณาธิการ. โมเดลการจัดการน้ำอย่างยั่งยืน “อิสราเอล-สิงคโปร์-เนเธอร์แลนด์” เพราะน้ำคือชีวิต ต้องไม่เสียน้ำสักหยด. [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 23 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก https://thaipublica.org/2016/06/ thailand-sustainable-water management-20-6-2559/
Zawya. Saudi giga project NEOM to build renewable energy-powered desalination plant. [Internet]. 2022 (Cited : 2023 February 24) Available from https://www.zawya.com/en/projects/utilities/saudi-giga-project-neom-to-build-renewable-energy-powered-desalination-plant-kyflfv73.
ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์. วิกฤติแล้ง.วันน้ำโลก. [อินเตอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 23 ธันวาคม 2561]. เข้าถึงได้จาก http://www.scimath.org/article-biology/item/303-qq
Reuters. Thailand: Drought threatens Thai Map Ta Phut industrial estate. [Internet]. 2012 [Cited 2023 February 24] Available from https://wildsingaporenews.blogspot.com/2012/05/ thailand-drought-threatens-thai-map-ta.html
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นานาทรรศนะน้ำระยอง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553. 212 น.
Eastern Economic Corridor. Government Initiative. [Internet]. 2019 [Cited 2023 February 24] Available from https://eeco.or.th/en/government-initiative/
โพสต์ทูเดย์. บรรณาธิการ. แนวโน้มภัยแล้งรุนแรงหนัก! เสนอรัฐบาลใหม่เร่งลงทุนบริหารจัดการน้ำ. [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2562] เข้าถึงได้จาก https://www.posttoday.com/economy/news/582821//
กรมทรัพยากรน้ำ. วันน้ำโลกเตือนทั่วโลกผจญภาวะขาดแคลนน้ำขั้นวิกฤติ. [อินเตอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2565] เข้าถึงได้จาก http://www.dwr.go.th/news/detail.php
กรมทรัพยากรน้ำ. การบริหารจัดการน้ำของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; 2556.
William J. Cosgrove1 and Daniel P. Loucks. Water management: Current and future challenges and research directions. AGU Water Resource Research. 2015;4823-4839.
ปัญจ์ปพัชรภร บุญพร้อม. เครื่องมือสำหรับการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. วารสารสุทธิปริทัศน์ 2553;24 (73):169-184.
วิธิดา พัฒนอิสรานุกูล. เครื่องมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา 2559;11 (2):96-108.
United Nations. Eco-efficiency Indicators: Measuring Resource-use Efficiency and the Impact of Economic Activities on the Environment. United Nations publication 2009;25.
Pham Thanh Tuan et.al. Industrial water mass balance as a tool for water management in industrial parks. Water Resources and Industry 2016;14-21.
สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ. แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). กรุงเทพฯ: สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ; 2561. 93 น.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. ดัชนีชี้วัดการจัดการน้ำ (Water Management Index, WMI). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2563. 161 น.
ไชยฤทธิ์ อนุชิตวรวงศ์. การศึกษาแนวทางการปรับปรุงการดำเนินโยบาย การพัฒนาที่ยั่งยืนและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยเพื่อตอบสนอง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. เอกสารวิจัย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 60 ประจำปี พุทธศักราช 2560-2561; 2561.
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์. อ่างใหม่ไม่ช่วยแล้ง ชี้ทางออกปัญหาน้ำ EEC ต้องรีไซเคิลน้ำ-ปรับปรุงประสิทธิภาพชลประทาน. [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2566] เข้าถึงได้จาก https://greennews.agency/?p=21351.
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารโครงการศึกษาและจัดทำแนวทางการบริหารจัดการน้ำสำหรับภาคอุตสาหกรรมแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม; 2561. 145 น.
สำนักข่าวสิ่งแวดล้อม. สนทช.เร่งศึกษาแผนจัดการน้ำรองรับ “EEC” สร้างสมดุลการใช้-มั่นใจไม่เกิดปัญหาแย่งชิง. [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566] เข้าถึงได้จาก https://greennews.agency/?p=18170.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 27 พฤศจิกายน 2562 รัฐเร่งแผนพัฒนา. ”แหล่งน้ำต้นทุน” รับพื้นที่อีอีซี. [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566] เข้าถึงได้จาก https://www.onep.go.th/ 27 - พฤศจิกายน-2562-รัฐเร่งแผนพัฒนา.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น; 2548.