Logistics in international relations : A case study of Thailand Northeastern Region of India through trilateral highway project
Keywords:
Business logistics, International relations, Thailand internation relations India, Logistics, Trilateral highway projectAbstract
บทคัดย่อ รัฐบาลอินเดียได้นำนโยบายมองตะวันออกมาใช้เพื่อยกกระชับความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น อันเป็นผลมาจากการเล็งเห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนาทางการเมืองของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ด้วยเหตุผลดังกล่าว นโยบายต่างประเทศของอินเดียจึงได้ให้ความสำคัญต่อภูมิภาคทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยรัฐ 8 รัฐ ได้แก่ รัฐอัสสัม รัฐอรุณาจัลประเทศ รัฐมณีปุระ รัฐเมฆาลัย รัฐมิโซรัม รัฐนาคาแลนด์ รัฐสิกขิม และรัฐตรีปุระ โดยมีเขตแดนทางภูมิศาสตร์เชื่อมต่อกับบังกลาเทศ ภูฏาน จีน และพม่า ซึ่งได้ถูกละเลยจากทางรัฐบายอินเดียนับตั้งแต่การประกาศเกราช ทัศนคติที่ไม่แยแสต่อภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทำให้ขาดการพัฒนา การว่างงาน และก่อให้เกิดความไม่สงบสุขในพื้นที่ การพัฒนาภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปสู่ประตูแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างเต็มศักยภาพจำเป็นต้องอาศัยโครงการต่างๆ รัฐบายอินเดียจึงได้เริ่มดำเนินโครงการสร้างเส้นทางที่มีระยะทาง 1,400 กิโลเมตรจากมอเร (ในอินเดีย) สู่แม่สอด (ในไทย) โดยผ่านพุกาม (ในพม่า) โครงการทางหลวงไตรภาคนี้เป็นความร่วมมือของรัฐบาลอินเดีย รัฐบาลไทย และรัฐบาลพม่า บทความนี้ผู้เขียนมุ่งนำเสนอภายใต้กรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อันได้แก่ ภูมิศาสตร์ โลจิสติกส์ และระบบภูมิภาคนิยม นอกจากนี้ยังได้นำเสนอโมเดลเพชรของพอร์เตอร์ เพื่อใช้อธิบายสนับสนุนข้อโต้แย้งในความร่วมมือระดับภูมิภาค ความคาดหวังและศักยภาพของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียได้นำมาอภิปราย ยิ่งกว่านั้นเส้นทางเชื่อมโยงประเทศไทย และภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียได้ถูกสำรวจเอสร้างกรณีศึกษาสำหรับโครงการทางหลวงไตรภาคีผลลัพธ์ที่ได้จักก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับทั้งสิงประเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวม ท้ายที่สุดได้เสนอข้อแนะนำบางประการเพื่อการพัฒนานโยบายการขนส่งทีครอบคลุมเครือข่ายพื้นฐานการขนส่งในอนุภูมิภาคระหว่างประเทศอินเดียและประเทศไทยAbstract The Government of India seen having seen the exigency of the change political development in the world adopted “Look East Policy” to develop closer and better relations with the South East Asian countries. As a result of this change political development in India’s foreing policy, the importance of the Northeastern region of India came into being. The Northeastern states (consist of eight states at the easternmost region of India – Assam, Arunachal Pradesh, Manipur, Meghalaya, Mizoram, Nagaland, Sikkim and Tripura) which share the geographical border lines with Bangladesh, Bhutan, China and Myanmar, have been neglected by the Government of India since the date of its independence. The apathetic attitude of the Indian government towards the region has led to the lack of development, unemployment. and insurgency in the region. To develop the northeastern region to its fullest potential and to project it as a gateway to Southeast Asia, Government of India has embarked on an ambitious project of building 1400 km long road from Moreh (in India) to Mae Sot (in Thailand) via Bagan (in Myanmar) This trilateral highway project is a joint effort of the India and Thailand governments in collaboration with Myanmar. In this paper, a conceptual framework involving concepts of geopolitical thought, logistics and regionalism have been discussed. Besides, Porter's diamond model has been explained to strengthen the argument of the regional cooperation. The prospects and potential of northeastern region of India have been discussed. Further, the linkages between Thailand and northeastern region of India have been explored to build a case for trilateral project. It comes out that this project would be of immense benefit to the two countries in particular and the Southeast Asia in general. Finally the certain areas have been suggested for the development of a comprehensive transport policy on the basis of sub-regional transportation network between India and Thailand.Downloads
Issue
Section
Articles