ความล้มเหลวของการจัดการความขัดแย้งเกี่ยวกับ ปญหามลพิษระหวางโรงงานเจนโก้ กับชุมชนเขตอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง

Authors

  • เพ่ง บัวหอม

Keywords:

ความล้มเหลว, การจัดการความขัดแย้ง, เจนโก้, ชุมชนเขตอุตสาหกรรมระยอง

Abstract

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการ รูปแบบการจัดการที่ ล้มเหลว และมาตรการจัดการความขัดแย้ง เกี่ยวกับปัญหามลพิษระหว่างโรงงาน เจนโก้กับชุมชนเขตอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแนวประวัติศาสตร์ โดยการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์ในเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่าพัฒนาการของความขัดแย้งและรูปแบบในการจัดการความขัดแย้งนั้น มีพัฒนาการตามประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ความขัดแย้งที่ปลวกแดง ต่อมาที่มาบตาพุดและขับเคลื่อนไปยังตำบลหนองละลอก เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่มีผล ต่อความขัดแย้งพบว่า มีปัจจัย 3 กลุ่มที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ได้แก่ ปัจจัยเชิงโครงสร้าง ปัจจัยตัวผู้กระทำ และปัจจัยด้านกระบวนการ ผลการศึกษาพบว่า ความล้มเหลวของการขจัดความขัดแย้งที่ปลวกแดง คือ การทำประชาพิจารณ์ที่มาบตาพุด ความล้มเหลวการทำงานคณะกรรมการ 3 ฝาย และความล้มเหลวการทำประชามติที่หนองละลอก ส่วนแนวทางและมาตรการจัดการปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับปัญหามลพิษ คือ แนวทางจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่สำคัญ ได้แก่ การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ในการตรวจสอบโครงการ การจัดตั้งองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อม การเพิ่มบทบาทขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และองค์กรประชาสังคมในพื้นที่ ส่วนมาตรการการจัดการความขัดแย้ง ได้แก่ มาตรการตามกฎหมาย การระงับข้อพิพาทด้านสิ่งแวดล้อม การเร่งจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม การตรากฎหมายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน และการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องAbstract The objective of the research is to study development, the failure format of manipulating through finding the management measure environment problem conflict between the Genco Factory and the industrial community area in Rayong. The case study employs historic-qualitative research through document research and qualitative interview. The conflict and conflict management history that found in this research are developed from time to time, starting from Pluak-Daeng along to and move to Tambol Nong-La-Lok. Concentration to the conflict has three relatable factors such as structural factor, executant’s factor and procedural factor. The study indicates the unsuccessful conflict management at Pluak-Daeng is an incapable of “Public Hearing”, a failure of three commissioner in Map-Ta-Pood and “Public Hearing” makes mistake at Nong-La-Lok. The term relates the way and measure to solve the conflict relate the pollution from Genco Factory and the industrial community. The measure consists developing the participation of people in community to investigate the project, founding the environmental independent entity by the constitution, and extending the role of local administrative firm and community firm in area. Furthermore, the important measure to solve the conflict can be varied such as measure by law, to end a matter in dispute about an environment, founding environmental court and new legislation to make participation of people, and adjust the related law.

Downloads