ทฤษฎีพฤติกรรมองค์การ : มุมมองเชิงปรัชญาสังคมศาสตร์

Theory of Organization Behavior : Social Science Philosophy View

Authors

  • เรวัต แสงสุริยงค์

Keywords:

การจัดองค์การ, พฤติกรรมองค์การ, องค์การ, ปรัชญา

Abstract

การศึกษาพฤติกรรมขององค์การเชิงปรัชญาสังคมศาสตร์ สามารถจำแนกได้เป็น 3 แนวทางคือ การศึกษาแบบปฏิฐานนิยม เป็นการศึกษาที่ใช้การทดลอง การสังเกต และทดสอบทฤษฎี ที่มุ่งเน้นการทำนายปรากฏการณ์ การศึกษาแบบสัจนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษากลไกที่อยู่เบื้องหลังและเป็นสาเหตุของพฤติกรรมที่คนหรือกลุ่มคนแสดงออกมาที่มุ่งเน้นการอธิบายกลไกความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล และการศึกษาแบบตีความ เป็นการศึกษาโดยการทำความเข้าใจแบบแผนของการเกิดปรากฏการณ์ในแต่ละกรณี โดยไม่ต้องอธิบายหรือทำนายโดยอาศัยกฎหรือหลักการทั่วไปแต่อย่างใด

References

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2542). ทฤษฎีองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช.

ธงชัย สันติวงษ์. (2535). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ไนโกร. เอฟ.เอ. และไนโกร, แอล.จี. (2526). การบริหารรัฐกิจแผนใหม่ (ติน ปรัชญพฤทธิ์, แปล). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรเดช จันทรศร, ร.ต.อ. (2540). รัฐประศาสนศาสตร์ขอบข่ายในทศวรรษใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมยศ นาวีการ. (2538). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

Farace, R.V., Monge, P.R., & Russell, H.M. (1977). Communicating any organizing. Massachusetts: Addison-Wesley Publishing Company.

Hall, R.H. (1991). Organizations structures, processes, and outcomes (5th ed.). New York: Prentice-Hall.

Kann, E.E. (1980). Thinking about politics : two political sciences. St. Paul, Min.: West Publishing.

Natemeyer, W.E., (Ed). (1978). Classics of Organizational Behavior. Oak Park, Ill.: Moore.

Marsh, D., & Stoker, G., (Eds). (1995). Theory and methods in political science. New York : St Martin’s Press.

Downloads

Published

2021-07-27