การตามรังควานบนอินเทอร์เน็ต (Cyberstalking) กับความผิดทางอาญาในสหรัฐอเมริกาและ สหราชอาณาจักร

Authors

  • จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน

Keywords:

เทคโนโลยีกับกฎหมาย, อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์, อินเทอร์เน็ต

Abstract

          อินเทอร์เน็ต นับได้ว่าเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทรงพลังและทรงประสิทธิภาพในโลกปัจจุบัน เนื่องด้วยคุณลักษณะที่สำคัญของอินเทอร์เน็ตหลายประการ เช่น ในเรื่องของความสะดวกในการเข้าถึง และราคาประหยัด แต่ถึงกระนั้นก็ตาม อินเทอร์เน็ตก็เป็นช่องทางสำหรับใช้ในการกระทำความผิดต่าง ๆ ซึ่ง Cyberstalking หรือการตามรังควานบนอินเทอร์เน็ตก็เป็นหนึ่งในอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์ การตามรังควานบนอินเทอร์เน็ตนั้นมีรูปแบบที่หลากหลายกันไป ตั้งแต่การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล์ (e-mail) เพื่อไปรบกวน หรือคุกคามผู้รับจนถึงการลงข้อความบนอินเทอร์เน็ตเพื่อให้เกิดการตามรังควานในโลกความเป็นจริง สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นภัยคุกคามต่อสวัสดิภาพ และความเป็นส่วนตัวของผู้คนทั้งสิ้น  บทความนี้กล่าวถึงลักษณะที่สำคัญของการตามรังควานบนอินเทอร์เน็ต ในฐานะที่เป็นอาชญากรรมบนอินเทอร์เน็ตประเภทหนึ่ง และจะได้กล่าวถึงมาตรการทางกฎหมายที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรได้ใช้เพื่อป้องปรามการตามรังควานบนอินเทอร์เน็ตในประเทศของตน The advent of the Internet has brought the world the powerful and effective instrument of communications. Although it provides a number of benefits to its users around the globe particularly in terms if east-to-access and cost-effective way of communications, it facilitates criminals to commit online illegal activities. Cyberstalking is one of the crimes on the Internet. Its forms can vary from sending harassing e-mails to posting messages to persuade the third party involving in stalking activities in the real world.  Undoubtedly, Cyberstalking is harmful to welfare and privacy. The main aim of this article is to explore the nature of Cyberstalking as a cybercrime, and to discuss the legal measures adopted by the United States of America and the United Kingdom to deal with Cyberstalking.

References

ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เนต. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.

ไทยพาเร้นท์ดอทเน็ต. (2545). รู้จักกับมหันตภัยไซเบอร์ Cyberstalking. วันที่ค้นข้อมูล 27 มิถุนายน 2548, เข้าถึงได้จาก http://www.thaiparents.net/articles/title.php?t=84?.

พจนานุกรม ออกซฟอร์ด-ริเวอร์ บุ๊คส์ อังกฤษ-ไทย. (2004). กรุงเทพฯ: ริเวอร์ บุ๊คส์.

อรรยา สิงห์สงบ. (ม.ป.ป.). ความพยายามทางกฎหมายกับการแก้ไขปัญหาจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ขยะ (Spam Mail). วันที่ค้นข้อมูล 28 มิถุนายน 2548, เข้าถึงได้จาก http://legalaid.bu.ac.th/files/articles/spammail.pdf.

Cyber Business Center. (2003). Glossary. Retrieved June 25, 2005, from http://www.nottingham.ac.uk/cyber/fullglos.html.

Ellison, L. (2001). Cyberstalking : Tackling harassment on the Internet. In D.S. Wall (Ed), Crime and the Internet (pp. 141-151). London; New York: Routledge.

Goode, M. (1995). Stalking : Crime of the Nineties? Criminal Law Journal, 19, 24.

Mullen, P., Pathe, M.R., & Stuart, G. (1999). Study of Stalkers. American Journal of Psychiatry, 156 (8), 1244.

Oglilvie, E. (2000). Cyberstalking. Trends and Issues in Crime and Criminal Justice, (166). Retrieved June 26, 2005, from http://www.aic.gov.au/publications/tandi/ti166.pdf.

Reed Elsevier (UK) Limited. (2006). Standard Scale and other financial penalties. Retrieved July 9, 2005, from http://wilson.butterworths.co.uk/stair/table.htm.

Downloads

Published

2021-07-27