“รักระหว่างรบในทวิภพ” องค์ประกอบอันนำไปสู่วรรณกรรมแนวโรมานซ์อิงประวัติศาสตร์

“Love During Battle in Thawiphop” Elements Leading to the Historical Romance Literature

Authors

  • จุฑามาศ ศรีระษา

Keywords:

วรรณกรรมแนวโรมานซ์อิงประวัติศาสตร์, ทวิภพ, ทมยันตรี

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษาองค์ประกอบของทวิภพในฐานะวรรณกรรมแนวโรมานซ์อิงประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีวิจัยเอกสารและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า นวนิยายเรื่องทวิภพมีองค์ประกอบสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การจัดประเภทของนวนิยายโรมานซ์อิงประวัติศาสตร์ ด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ ได้แก่ แนวคิด ตัวละคร เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และสิ่งมหัศจรรย์ องค์ประกอบเหล่านี้ล้วนทำให้นวนิยายเรื่องทวิภพเป็นนวนิยายแนวโรมานซ์อิงประวัติศาสตร์ที่โดดเด่นในวงวรรณกรรมไทย  This article aims at studying literary elements of Thawiphop, as a historical romance literature. This thesis adopts documentary research and descriptive analysis as a key framework. According to the study, the research shows that Thawiphop suits the generic codes of historical romance novel. The combination of themes, characters, historical events and supernatural element makes Thawiphop an outstanding historical romance of the Thai literary cycle.

References

กอบกุล อิงคุทานนท์. (2539). ศัพท์วรรณกรรม. กรุงเทพฯ: ษรฉัตร.

กุนนา, พี. เอ็น. (2528). วิถีแห่งรัก วิถีแห่งชีวิตแต่งงาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ต้นหมาก.

กุหลาบ มัลลิกะมาศ. (2538). วรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชุติมา ประกาศวุฒิสาร. (2558). ปาฐกถาพิเศษชุด “วีรชนที่ถูกสร้าง-วีรชนที่ถูกลืม”: จินตภาพแห่งการสูญเสียกับชาตินิยมแนวรักโรแมนติกของทมยันตี. เข้าถึงได้จาก http://prachatai.org/journal/2015/04/58770

เถกิง พันธุ์เถกิงอมร. (2541). นวนิยายและเรื่องสั้น การศึกษาเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์. สงขลา: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.

ทมยันตี. (2551). ทวิภพ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: ณ บ้านวรรณกรรม.

ทมยันตี. (2551). ทวิภพ เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: ณ บ้านวรรณกรรม.

ธัญญา สังขพันธานนท์. (2559). แว่นวรรณคดี ทฤษฎีร่วมสมัย. ปทุมธานี: นาคร.

ธีร์จุฑา เมฆิน. (2558). แนวคิดทางการเมืองแบบราชาชาตินิยมที่ปรากฏในนวนิยายของทมยันตี. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. (2556). พิพิธพรรณวรรณา: ความทรงจำและสยาม-ไทยศึกษาในบริบทสากล. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์ ร่วมกับสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์.

นิพัทธ์ ทองเล็ก. (2558). พระยอดเมืองขวาง ผู้ปลุกสยาม สู้ เจ้าอาณานิคม. กรุงเทพฯ: มติชน.

ประดับ ภูมิลา. (2542). บุคลิกภาพตัวละครเอกสตรีในนวนิยายของทมยันตี ช่วง พ.ศ. 2509 ถึง พ.ศ. 2529. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสารคาม.

พรรณทิภา จีนกลับ. (2551). การศึกษาวิเคราะห์นวนิยายไทยที่นำเสนอการเดินทางข้ามเวลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิชากร กรัตนุตถะ. (2546). วิเคราะห์นวนิยายประเภทเหนือธรรมชาติของวิมล ศิริไพบูลย์. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วิทย์ ศิวะศริยานนท์. (2541). วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ธรรมชาติ.

สันติ ทองประเสริฐ. (2519). วิวัฒนาการของเนื้อหานวนิยายไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึง พ.ศ. 2517. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

สุพรรณี วราทร. (2519). ประวัติการประพันธ์นวนิยายไทยตั้งแต่สมัยเริ่มแรกจนถึง พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์. (2549). พระอภัยมณี: การศึกษาในเชิงวรรณคดีวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศยาม.

Downloads

Published

2022-11-07