ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน กับคุณภาพชีวิตการทำงานของ บุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

The Relationship between Organizational Culture and Job Motivation and Quality of Work Life of Personal in Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University

Authors

  • ธนัญฉัตร เอี่ยมเพ็ชร์
  • ภารดี อนันต์นาวี
  • สถาพร พฤฑฒิกุล
  • เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม

Keywords:

วัฒนธรรมองค์การ, แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน, คุณภาพชีวิตการทำงาน

Abstract

การวิจัยนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 125 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ในระดับปานกลางและค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้านความต้องการความเจริญก้าวหน้า ด้านความต้องการด้านสัมพันธภาพ ด้านความต้องการในการดำรงชีวิต สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ร้อยละ 71.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  The objective of this research was to study the relation between organizational culture, job motivation and quality of work life of the staff of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University. The research sample consisted of the personnel of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University by using qualitative research.  The research results were as follows:  1. The staff’s Quality of work life, Organizational culture and Job motivation of the Faculty of Humanities and Social Sciences were appropriate at the medium level.  2. Organizational culture and job motivation were positively related with the quality of work life at the 0.01 level of significance. 3. Organizational culture and job motivation had a positively high effect on the quality of work life at the 0.01 level of significance.  4. The job motivation concerning Growth needs, Relatedness needs, Existence needs could cooperatively predict the quality of work life of the staff of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University by 71.30 percent at the 0.01 level of significance.

References

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2560). รายงานผลการประเมินตนเองคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2559. ชลบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชูเกียรติ ยิ้มพวง. (2554). แรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานกรณีศึกษาบริษัท บางกอกกล๊าส จำกัด โรงงานจังหวัดปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ณัฏฐณิชา อรุณเลิศรัศมี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับสมดุลชีวิตการทำงานของพนักงาน: ศึกษาเฉพาะกรณี พนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ดำรงศักดิ์ ดวงสมบูรณ์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับแรงจูงใจการทำงานของพนักงานประจำสำนักงานบริการของบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ธนิตา นาพรม. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษา ศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พนิดา จิระสถิตถาวร. (2550). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประภัสสรวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรางคณา เอกอัจฉริยา. (2557). การรับรู้วัฒนธรรมองค์การ คุณภาพชีวิตการทำงานความเครียดกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานขายทางโทรศัพท์ในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วเรศ ทยามันทิรนันท์. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ กรณีฝ่ายปฏิบัติการคลังสินค้าการบินไทย บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสังคมวิทยาประยุกต์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วารสาร เมืองพวน. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถาบันระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สุทิน สายสงวน. (2533). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการ. ศึกษาข้าราชการในสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตรที่ประจำสำนักงานเกษตรอำเภอในภาคใต้. ปริญญานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อภิญญา วงษ์กุหลาบ. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้วัฒนธรรมการทำงานในองค์การกับความเครียดในการทำงาน ความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

Alderfer, C. P. (1972). Existence: relatedness and growth, human needs in organizational setting. New York: Free Press.

Beach, D. S. (1965). The Management of people at word. New York: The Macmillan.

Cooke, R. A., & Lafferty, J.C. (1989). Organization culture in ventory. Plymouth Ml: Human Synergistics.

Walton, R.E. (1973). Quality of work life: What is it?. Sloan Management Review, 15, 11-12.

Yamane, T. 1993. Statistics: An introductory analysis international edition. Tokyo: Harper

Downloads

Published

2022-11-07