การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์: โครงสร้างวลีในภาษาอังกฤษตามหลักวากยสัมพันธ์ สำหรับนิสิตสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยพะเยา

The Development of Electronic Book: Phrasal Structures on Syntactic Approach for English Major Students of Phayao University

Authors

  • เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต

Keywords:

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, วากยสัมพันธ์, โครงสร้างวลีภาษาอังกฤษ, E-book

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง โครงสร้างวลีในภาษาอังกฤษตามหลักวากยสัมพันธ์ สำหรับนิสิตสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยพะเยา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องโครงสร้างวลีในภาษาอังกฤษตามหลักวากยสัมพันธ์ ของนิสิตสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยพะเยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ นิสิตสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยพะเยาชั้นปีที่ 2 จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง โครงสร้างวลีในภาษาอังกฤษตามหลักวากยสัมพันธ์ แบบประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 เท่ากับ 80.35/80.37 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  The purposes of this study were 1) to develop the electronic book (e-book) entitled The Phrasal Structure on Syntactic Approach for English major students of Phayao University with an efficiency value of 80/80 and 2) to study the learning achievement before and after  learning through the e-book of English major students of Phayao University. The sample in this research were 80 Second-year English major students of Phayao University. The instruments used in the study consisted of the e-book entitled The Phrasal Structure on Syntactic Approach, the quality evaluation form of the e-book and the pre-test and post-test. The statistics used for data analyses were mean, standard deviation and t-test. The research findings showed that the efficiency value (E1/E2) of the designed e-book was 80.35/80.37. The learning achievement showed that the mean score of the post-test was higher than the pre-test significantly at .01.

References

กมล สังข์ทอง. (2555). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง พื้นฐานเทคโนโลยีสื่อสารมวลชนสำหรับนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอน คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

รุ่งฟ้า แสงบุตร. (2553). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง Our Story Corner กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ภัทราวดี ศิริวรรณ. (2557). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง เทคโนโลยีการก่อสร้าง 5 สำหรับนักศึกษาสถาปัตยกรรม. คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา,

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

วัชระ แจ่มจำรัส. (2549). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย เสริมการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วันฤดี สุขสงวน. (2559). การพัฒนาสื่อการเรียนหนังสือการ์ตูนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาบัญชีต้น ด้วยนิทานชาดก. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2(1), 81-90.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2530). หลักการสร้างและวิเคราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชย์.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). เข้าถึงได้จาก https://bit.ly/2WR7pJ9

อัญญรัตน์ ร่วมกระโทก. (2553). การผลิตบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง และสรัญญา เศวตมาลย์. (2554). ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาทิตยา กางสี. (2552). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Barker, P., & Giller, S. (1991). An electronic book for early learners. Educational and Training Technology International, 28(4), 140-141.

Boonlert, A. (2011). Knowleadge sharing: E-book. Retrieved from https://bit.ly/3rSbSqd

Chomsky, N. (1957). Syntactic structures. The Hauge: Mouton.

Critelli, K. (2011). The effect of multimedia e-books on the acquisition of early literacy skills. Master of Science, Health Sciences, University of New Jersey.

Jotikasthira, P. (2014). Introduction to the English language: System and structure. Bangkok: Faculty of Arts Chulalongkorn University.

Thomas, L. (1997). Beginning syntax. Oxford: Blackwell.

Downloads

Published

2022-11-18