วัจนลีลาของสุทธิชัย แซ่หยุ่น ในรายการกาแฟดำ
The Language Style of Suthichai Sae-Yoon in Kafedam Program
Keywords:
วัจนลีลา, การรายงานข่าว, สื่อสังคมออนไลน์, ภาษาเฉพาะบุคคล, ยูทูบเบอร์, รายการกาแฟดำ, สุทธิชัย แซ่หยุ่นAbstract
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วัจนลีลาของสุทธิชัย แช่หยุ่น ในรายการกาแฟดำซึ่งเป็นรายการสัมภาษณ์ผู้มีชื่อเสียงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี ข้อมูลรวบรวมจากรายการที่ออกอากาศทางช่องยูทูบเผยแพร่ ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 จำนวน 26 คลิป กรอบแนวคิดการวิจัย คือ วัจนลีลา ผลการวิจัยแสดงให้เห็นวัจนลีลาที่มีลักษณะ เฉพาะของ สุทธิชัย 3 ลักษณะเด่น ได้แก่ 1) การใช้คำ ได้แก่ คำบุรุษสรรพนาม คำภาษาอังกฤษ และคำอุทาน 2) การใช้ประโยค ได้แก่ ประโยคกระชับ ประโยคขัดความ ประโยคสรุปความและประโยคซับซ้อน 3) การตั้งคำถาม ได้แก่ การรุกไล่ด้วยคำถามต่อเนื่อง การถามแบบชี้นำคำตอบ การถามในลักษณะสรุปประเด็น การถามย้ำ การตั้งคำถามโดยการยกตัวอย่างคำถามเชิงวาทศิลป์ และการทวนและถามคำถามใหม่ในทันที การวิจัยนี้แสดงให้เห็นลีลาภาษาของสุทธิชัย แซ่หยุ่น ซึ่งเป็นนักสื่อสารมวลชนที่มีบทบาทในวงการข่าวของไทย This study is qualitative research. The objective is to analyze the language style of Suthichai Sae-Yoon in the Kafedam (literally black coffee) program. This is a program focused on interviews with prominent persons in society, economy, politics and technology. Twenty-six clips data were collected from the programs on YouTube website in between June 2019 to June 2020. The research conceptual framework is the language style. The research finding was found that there are three prominent language styles including 1) Word choices such as pronouns, English loanwords and interjections; 2) Sentence pattern: It was found that the sentences he used were concise, interrupted, summarized and complex. 3) Question styles: they were questions in series, guided questions, questions to sum up the point, emphasizing questions, questions using examples, rhetorical questions, and reviewing the points and starting new question. This research presents the language style of Suthichai Sae-yoon, a key journalist who plays an important role in Thailand’s news society.References
เต็มจิต ฉั่วริยะกุล. (2558). วัจนลีลาและกลวิธีในการนำเสนอ “นิทานเซ็น มหรสพทางวิญญาณเพื่อจริยธรรม” ของพุทธทาส อินฺทปญฺโญ. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นววรรณ พันธุเมธา. (2544). คู่มือการใช้ภาษาไทยแนวใหม่: คลังคำ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพลับลิชชิ่ง.
นิภาพันธ์ พูนเสถียรทรัพย์. (2563). ทำไม? เราต้องรู้จัก GDP. เข้าถึงได้จาก https://bit.ly/2VzASXo
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 5 มิถุนายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 5 กรกฎาคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 25 กรกฎาคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 18 กันยายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 12 พฤศจิกายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 18 พฤศจิกายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 6 ธันวาคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2562, 20 ธันวาคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2563, 10 มกราคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2563, 31 มกราคม). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2563, 19 มิถุนายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
บริษัท กาแฟดำ จำกัด (ผู้ผลิต). (2563, 26 มิถุนายน). กาแฟดำ [รายการโทรทัศน์]. สมุทรปราการ: 9 MCOT HD.
ปาริฉัตร พิมล. (2562). กลวิธีการใช้ภาษาของ ธีมะ กาญจนไพริน ในรายการข่าว “จั๊ด ซัดทุกความจริง.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 7(2), 130-142.
ปิยะพร ปุณณกะศิริกุล และจเร สิงหโกวินท์. (2562). การวิเคราะห์กลวิธีทางภาษาในโฆษณาประกันบำนาญ. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 36(1), 67-106.
ประไพพรรณ พึ่งฉิม. (2542). กลวิธีการถามในปริจเฉทการสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์สองประเภท. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปวีณ์สุดา เหนือคลอง, ปาริชาติ แก้วนวน, พัชวรรณ ด้วงสุข, สมิทธ์ชาต์ พุมมา และอลิสา คุ่มเคี่ยม. (2562). การใช้ภาษาในการพูดเพื่อสร้างแรงบันดาลใจของฌอน บูรณะหิรัญ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 11 (หน้า 135-144). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พิชัย กันทะชัย. (2555). ผลกระทบของการรับสัมผัสสารประกอบไอโซไซยาเนตต่อการเกิดอาการผิดปกติทางเดินหายใจของพนักงานผลิตโฟมโพลียูรีเทน ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชรีย์ จำปา. (2538). วัจนลีลาในวรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
เรณู รอดทัพ. (2550). ลีลาการใช้ภาษาในงานเขียนของพัชรศรี เบญจมาศในเนชั่นสุดสัปดาห์ ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2548. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุมาลี พลขุนทรัพย์. (2555). วัจนลีลาของสุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ ในรายการคนค้นฅน. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2533). ภาษาศาสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาภินานันท์ ศรีมา. (2556). วิเคราะห์เนื้อหาและวิธีการนำเสนอธรรมะผ่านสื่อวีดิทัศน์ของพระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสื่อสารศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Joos, M. (1961). The five clocks, A linguistic excursion into the five styles of English usage. New York: Harcourt, Brace and World.
Macaulay, M. (1996). Asking to ask: The strategic function of indirect requests for information in interviews. Pragmatics, 6(4), 491-509.