สถานการณ์ แนวโน้ม และความต้องการความรู้และทักษะปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรวัยทำงานในประเทศไทย
Situations, Trends, and Needs of Knowledge and Artificial Intelligence Skills for Enhancing Work Effectiveness among Working-Age People in Thailand
Keywords:
ปัญญาประดิษฐ์, ปัญญาประดิษฐ์ด้านการสื่อสาร, ความรู้และทักษะปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสาร, Artificial Intelligence, Artificial Intelligence in Communication, Knowledge and Skills of Artificial Intelligence in CommunicationAbstract
วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ม และความต้องการความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ด้านการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของบุคลากรวัยทำงานในปัจจุบัน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์และตลาดแรงงานไทยจำนวนทั้งสิ้น 40 คน ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ความรู้และทักษะของบุคลากรในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารระดับ ผู้ใช้งานนั้นพบว่า บุคลากรส่วนใหญ่สามารถใช้งานปัญญาประดิษฐ์เพื่อการสื่อสารได้เป็นอย่างดี และบางองค์กรบุคลากรมีทักษะการปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยี ทั้งนี้ความรู้และทักษะของบุคลากรในด้านดังกล่าวมีหลายระดับแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับงานที่รับผิดชอบ สำหรับบุคลากรที่ยังไม่ได้มีการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในส่วนงานของตนจะมีความรู้ในด้านดังกล่าวนี้ค่อนข้างน้อย ประกอบกับอายุ ช่วงวัยมีผลต่อการรับปัญญาประดิษฐ์ เข้ามาใช้เช่นกัน สำหรับความต้องการขององค์กรต่อความรู้และทักษะปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารของบุคลากรนั้น ประกอบไปด้วย 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ความต้องการด้านความรู้พื้นฐานด้านปัญญาประดิษฐ์ 2) ความต้องการความรู้ด้านการบริหารจัดการข้อมูล และ 3) ความต้องการความรู้และทักษะที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ปัญญาประดิษฐ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการคิด ซึ่งองค์กร/หน่วยงานต่าง ๆ ควรมีการพัฒนาหลักสูตรสำหรับให้ความรู้และเสริมทักษะการใช้ปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารแก่บุคลากรวัยทำงานต่อไป This research aims at studying the situations, trends and needs of knowledge and artificial intelligence skills for enhancing work effectiveness among working-age people in Thailand. It employed a technique of an in-depth interview with 40 informants who were from artificial intelligence-related professionals and working for the Thai labor markets. The results showed that most professionals had a good level of knowledge and skills of artificial intelligence in communication. In certain organizations, employees were able to adapt to technology. Their levels of knowledge and skills, however, varied, depending on their job responsibilities. Those who did not use artificial intelligence in their work showed a low level of knowledge in this area. Besides, their ages and generations influenced their decision to use artificial intelligence skills in their work. Regarding organizations’ needs for knowledge and skills of artificial intelligence in communication, the results indicated that there were 3 major points: 1) the need of basic knowledge in artificial intelligence; 2) the need of data management; and 3) the need of knowledge and skills of artificial intelligence in communication, especially in terms of thinking. Thus, organizations/institutes should develop courses for educating and improving their employees’ skills of artificial intelligence in communication.References
กนกกาญจน์ เสน่ห์ นมะหุต. (2561). การวิเคราะห์การยอมรับการใช้บริการธนาคารดิจิทัลโดยใช้ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 24(2), 43-64.
กาญจนา แก้วเทพ. (2552). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางศึกษา. ภาพพิมพ์.
ขวัญชนก พุทธจันทร์. (2563). ปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence). https://www.lib.ku.ac.th/2019/index.php/covid-19/1045-artificialintelligence
ณัฐพล นันทาวิวัฒน์. (2562). การพัฒนาคนให้ทัน AI. http://www. dsd.go.th › Region
ธนารักษ์ ธีระมั่นคง. (2563). ทักษะมนุษย์ในโลก AI กับ “การศึกษา” ที่ต้อง transform. https://tu.ac.th/thammasat-siit-expert-talk-ai-transform-education
ปิยะชาติ อิศรภักดี. (2559). Branding 4.0. อมรินทร์ฮาวทู อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
พรชนก พลาบูลย์. (2560). การยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี และพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความตั้งใจของประชาชนในการใช้บริการธุรกรรมทาง การเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ของรัฐบาลไทย. [การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].
วีณา พึงวิวัฒน์นิกุล. (2562). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในบริบทอนาคตแรงงานไทยในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 4(2), 285-298.
ศิริรัตน์ ศรีสกุลวรรณ และพัลลภา ปีติสันต์. (2560). กรอบแนวคิดในการศึกษากระบวนการบริหารจัดการเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ในบริบทด้านสุขภาพ (โรงพยาบาล). วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(100), 171-189.
ศุภชัย ศรีสุชาติ. (2561). ทิศทางการจ้างงานของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0.สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมเกียรติ ลีลาทวีวุฒิ. (2556). ปัจจัยขับเคลื่อนและผลสำเร็จของการใช้ระบบคลาวด์สำหรับองค์การธุรกิจในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์].
สาคร กล้าหาญ และคชา ศัยยกุล. (2563). องค์ประกอบคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของกลุ่ม Generation Y. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(2), 124-134.
สุกมล มุ่งพัฒนสุนทร. (2561). ยุคแห่งสังคม AI: หาก AI มาแทนที่มนุษย์. https:// www.stou.ac.th/thai/grad_stdy/Masters
AbuShanab, E., & Pearson, J. M. (2007). Internet banking in Jordan. Journal of Systems and Information Technology, 9(1), 78-97.
Bersin, J., Pelster, B., Schwartz, J., & Van Der Vyver, B. (2017). Introduction: Rewriting the rules for the digital age. https://www 2.deloitte.com/ content/dam/Deloitte/global/Documents/HumanCapital/hc-2017-global-human-capital-trends-gx.pdf
Carlisle, S., Ivanov, S., & Dijkmans, C. (2021). The digital skills divide: Evidence from the European tourism industry. Journal of Tourism Futures. https://doi.org/ 10.1108/JTF-07-2020-0114
Foon, Y. S., & Fah, B. C. Y. (2011). Internet Banking Adoption in Kuala Lumpur: An application of UTAUT model. International Journal of Business and Management, 6(4), 161-167.
Rogers, E. M. (2003). Diffusion of innovations (5th ed.). Free Press.
Tsai, C., Zhu, D., & Jang, Y. (2013). A study on the consumer adoption behaviors of Internet bank. Journal of Networks, 8(12), 2956-2963.
Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User acceptance of information technology: Toward a unified view. MIS Quarterly, 27(3), 425-478.
Verkijika, S. F. (2018). Factors influencing the adoption of mobile commerce applications in Cameroon. Telematics and Informatics, 35(6), 1665-1674.
World Economic Forum. (2018). The Future of jobs report. https://www.weforum.org/reports/the-future-of-jobs-report-2018