การสร้างแบรนด์องค์กรผ่านการสร้างประสบการณ์: กรณีศึกษา คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา

Corporate Branding via Brand Experiences Creation: The Faculty of Music and Performing Arts, Burapha University Case Study

Authors

  • มารุต จิรชุติพร

Keywords:

การสร้างแบรนด์, แบรนด์องค์กร, การสร้างประสบการณ์, คณะดนตรีและการแสดง, Branding, Corporate Brand, Brand Experiences, the Faculty of Music and Performing Arts

Abstract

วัตถุประสงค์ของบทความวิชาการเพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแบรนด์องค์กรผ่านการสร้างประสบการณ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของแบรนด์ ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดและกรณีศึกษาการสร้างประสบการณ์กับแบรนด์คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านโครงการการประกวดขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมดังกล่าวได้บูรณาการ การเรียนการสอนและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในคณะฯ ประกอบด้วย คณาจารย์ บุคลากร นิสิตปัจจุบัน และศิษย์เก่า รวมถึงการสื่อสารแบรนด์องค์กรกับกลุ่มเป้าหมายภายนอก ผลตอบรับของกิจกรรมสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในทางบวกหลังจากที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม  This article aimed at providing insights about corporate branding via brand experience creation with the stakeholders in order to gain brand image in a positive way. The author proposed the brand experience concept and the case study of the Faculty of Music and Performing Arts (MUPA) Brand, Burapha University via Thai Country Song Singing Contest at the Higher Education Level of Thailand for the Royal Cup of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn event. This event was integrated the classes’ instructions and knowledge sharing among MUPA’s lecturers, officers, current students and ex-students, including corporate brand communicating with the outside audiences. The event evaluation reflected changing stakeholders’ attitudes toward MUPA in positive ways after participating the activities.

References

กุณฑลี รื่นรมย์. (2563). Corporate brand success valuation (พิมพ์ครั้งที่4). ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป.

นริสรา พึ่งโพธิ์สภ, ฐาศุกร์ จันประเสริฐ, ดุษฎี โยเหลา และเชาวนี แก้วมโน. (2559). การรับรู้ภาพลักษณ์แบรนด์การสร้างแบรนด์ภายในและความยึดมั่นด้านความรู้สึกต่อแบรนด์องค์กรของบุคลากรในมหาวิทยาลัย.วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(2),71-91.

ปฐมาพร เนตินันทน์. (2554). การสังเคราะห์กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างตราสินค้า. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 31(2), 36-50.

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563ก, 9 มีนาคม). ความแตกต่างระหว่าง corporate brand และ product brand. https://www.popticles.com/ branding/corporate-brand-vs-product-brand/

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563ข, 12 กรกฎาคม). วิธีสร้าง brand experience ให้ประทับใจ. https://www.popticles.com/branding/create-impressive-brand-experience/

เอสเอ็มอี ไทยแลนด์. (2562, 27 พฤษภาคม). หมัดฮุก ‘experience’ กลยุทธ์หยุดลูกค้าตั้งแต่แรกพบด้วยประสบการณ์. https://www.smethailandclub.com/marketing-4557-id.html

Aberg L. E. G. (1990). Theoretical model and praxis of total communications. International Relations Review, 13(2), 13-16.

Bunzel, D. L. (2007). Universities sell their brands. Journal of Product & Brand Management, 16(2), 152-153.

Pincus, J. D., Robert, A. P. R., Rayfield, A. P. R., & DeBonis, J. N. (1991). Transforming CEOs into chief communications officer. Public Relations Journal, 47(11), 22-27.

Pine, J. B. II, & Gilmore, J. (1999). The experience economy. Harvard Business School Press.

Schmitt, B. H. (1999). Experiential marketing. Free Press.

Sharma, N., & Kamalanabhan, T. (2012). Internal corporate communication and its impact on internal branding: Perception of Indian public sector employees. Corporate Communications: An International Journal, 17(3), 300-322.

Van Riel, C. B. M. (1995). Principles of corporate communication. Prentice Hall.

Williams, M. (2000). Is a company’s intellectual capital performance and intellectual capital disclosure practices related? Evidence from publicly listed companies from the FTSE 100. Paper Presented at McMasters Intellectual Capital Conference. January 2001, Hamilton Ontario.

WP. (2559, 29 สิงหาคม). เมื่อ “corporate brand” คือ ความยั่งยืน ถึงเวลาองค์กรต้องให้ความสำคัญ. https://www.brandbuffet.in.th/2016/08/corporate-brand-sustainability/

Downloads

Published

2022-11-24