การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งจังหวัดชลบุรี
Keywords:
ภัยแล้ง - - ไทย - - ชลบุรี, ภัยแล้ง - - การประเมินความเสี่ยง, ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหาพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและระดับพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในจังหวัดลพบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 6,275ใ35 ตารางกิโลเมตร วิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการซ้อนทับ (Overlay technique) ในโปรแกรม Arc GIS 10.2 ปัจจัยที่ใช้ในการศึกษา คือปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี การระบายน้ำของดิน ลักษณะเนื้อดิน พื้นที่ระบบชลประทาน ปริมาณน้ำบาดาล และการใช้ประโยชน์ที่ดิน และได้กำหนดค่าถ่วงน้ำหนักเป็น 6: 6: 5: 4: 3 ตามลำดับ พบว่าสามารถจัดกลุ่มระดับความเสี่ยงภัยแล้งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งมาก มีพื้นที่ 974.16 ตารางกิโลเมตร (15.52% ของพื้นที่ทั้งหมด) เสี่ยงภัยแล้งระดับปานกลาง มีพื้นที่ 1,850.99 ตารางกิโลเมตร (29.50%) เสี่ยงภัยแล้งน้อย มีพื้นที่ 2,122.26 ตารางกิโลเมตร (33.82%) และไม่เสี่ยงภัย มีพื้นที่ 1,327.95 ตารางกิโลเมตร (21.16%)This study aimed to evaluate drought risk area and study the drought risk levels in Lop Buri Province. Study area total of 6,275.35 square kilometers. Data were analyzed by overlay technique in Arc GIS 10.2 Program. Factors used in the analysis consisted of annual raindall, soil drainage, soil texture, irrigation system area, groundwater volume and land use, ratio 6:6:5:4:3 Results of the study shows that the drought risk of Lop Buri province can be classified into 4 levels, namely high level risk, moderate, low and non-risk level which occupy the area of 974.16 (15.52%), 1,850.99 (29.50%), 2,122.26 (33.82%) and 1,327.95 (21.16%) square kilometers, respectively.Downloads
Issue
Section
Articles