วารสารมหาวิทยาลัยบูรพา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu en-US วารสารมหาวิทยาลัยบูรพา 08532535 Performance managment within the framework of industry related to international and corporate perspectives https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3564 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;The world is so full of products and services that compete with one another for market share and the economic profit of companies, that careful examination of the factors that go into a product are the subject of this information. The primary goal of this report is to provide an accurate analysis of the elements, factors and components that comprise performance, and determine how it is managed and controlled. There are several different aspects of this regarding products, which are the combination of materials, technology or processing and various forms of labor or manpower applied to raw materials. For this article however our focus will be on the human factor, which is the activities, attitudes, behavior, and work methods, ethics and levels of skill, ability and achievement that companies manage in personnel. Management skills are learned and acquired over time and thru experience in dealing with people, under a company, through the military, in Government or some form of education.<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;While it is true some persons have a natural ability to apply some of the qualities of a good manager, such as understanding, perception, have many forms of intuition, are constructive and creative, enthusiastic, can display leadership in many forms, enjoy working with and for people&rsquo;s good, most of these qualities must be learned of acquired over time. People just have different skills and what some lack others have in abundance, and when working together it is a constant challenge for all people to get along and not be working to the detriment of one another, even they may be working in the same company or division of one together. The various elements of human activity and behavior are the subject of this paper.</p> Sinee Sankrusme Copyright (c) 5 1 18 28 การศึกษาคุณภาพน้ำทางด้านแบคทีเรียในแม่น้ำบางปะกง จากสะพานรถไฟถึงวัดบางกรูด https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3558 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;จากการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางด้านแบคทีเรียของแม่น้ำบางปะกง โดยสุ่มตัวอย่างน้ำจากแม่น้ำบางปะกงช่วงที่ไหลผ่านสะพานรถไฟถึงวัดบางกรูด อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2535 จำนวน 40 ตัวอย่าง นำมาวิเคราะห์หาจำนวนแบคทีเรียทั้งหมดโดยวิธี standard plate count โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform bacteria) ฟีคัลโคลิฟอร์ม (fecal coliforms) และ E. coli โดยวิธีเอ็มพีเอ็น (MPN method) รวมทั้งตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียก่อเกิดโรคบางชนิด ได้แก่ Salmonella spp., Shigella spp., Vibrio cholerae, Staphylococcus aureus และ Streptococcus fecalis ด้วยวิธี spread plate เปรียบเทียบกับวิธี membrane filter ปรากฏว่าคุณภาพน้ำด้านแบคทีเรียของแม่น้ำบางปะกงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของแหล่งน้ำประเภทที่ 3 ที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จำนวนโคลิฟอร์มแบคทีเรียไม่เกิน 5000 MPN/100 มิลลิลิตร จำนวนฟีคัลโคลิฟอร์มไม่เกิน 2400 MPN/100 มิลลิลิตร จำนวนแบคทีเรียทั้งหมดอยู่ระหว่าง 3900-11330 เซลล์/มิลลิลิตร ตรวจพบ E. coli 80% ของตัวอย่างทั้งหมดตรวจพบ V. parahaemolyticus โดยวิธี spread plate 7.5% และโดยวิธี membrane filter 17.5% ของตัวอย่างทั้งหมด<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The bacteriological quality of Bangpakhong River was studied. Fourty samples of water in Muang district were randomly collected during May to August 1992. These samples were analyzed for the total number of bacteria through standard plate count. Coliform bacteria and fecal coliform (E. coli) were analyzed using MPN method, whereas pathogenic bacteria were analyzed using spread plate method and millipore filter method. The result of the analysis showed that bacteriological quality of water in Bang pakong River was up to the standard criteria of the third category water resource set by the National Environmental Board ; since, coliform bacteria and fecal coliform did not exceed 5000 MPN/100 ml. and 2400 MPN/100 ml. respectively. In addition, the total number of bacteria was between 3900-11330 cells/ml. and E. coil was 80% V. parahaemolyticus was found through the use of spread plate method (7.5%) and millipore filter method (17.5%)</p> จิระ เครือทราย สุบัณฑิต เมฆขยาย บัญญัติ สุขศรีงาม Copyright (c) 5 1 1 17 Estimation of mercury transport and accumulation from an incinerator https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3565 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;Mercury concentrations in the air, soil, and sediment-water were estimated to determine the levels of mercury that might be present in the envirsonmental media within 5 km of an incinerator in New Jersey. Gaussian dispersion equation was used as a basic tool for estimating mercury concentrations in the air. Universal loss equation, atmospheric deposition (wet and dry) and accumulation equations were used to calculate mercury concentrations in soil, and sediment-water.<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Estimated high-ground level concentration of mercury in the air was about 28 ng/m<sup>3</sup>under D-stability, which is slightly higher than the average in the U.S. (2-20 ng/m<sup>3</sup>) due to the result of near-source calculations (5 km). Mercury in soil and sediment, regardless background concentration, were approximately 0.37 and 0.33 mg/kg, respectively, which is high comparing to another county soil samples.</p> Nares Chuersuwan Subuntith Mekekhayai. Copyright (c) 5 1 29 39 กระบวนการผสมระหว่างโพลิโอลิฟินส์กับโพลิเอทิลีนเทอเรฟทาเลทที่ใช้แล้ว https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3559 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;โครงงานพิเศษนี้เป็นการศึกษาสภาวะและกระบวนการที่เหมาะสมในการผสมพอลิโอลิฟินส์กับพอลิเอทิลีนเทอเรฟทาเลทในอัตราส่วนผสมต่าง ๆ กัน โดยใช้สารช่วยผสม จากนั้นทำการศึกษาหาสมบัติเชิงกลและสมบัติทางสัณฐานวิทยาของพอลิเมอร์ผสมที่ได้จากเครื่องบดผสมแบบสองลูกกลิ้ง (Two-roll mill) และเครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนเดี่ยว (Single-screw extruder) โดยมีการปรับเปลี่ยนอัตราส่วนผสมของพอลิโอลิฟินส์ต่อพอลิเอทิลีนเทอเรฟทาเลทเป็น 0:100 50:50 และ 100:0 ตามลำดับ โดยใช้กราฟโคพอลิเมอร์ระหว่างพอลิโพรพิลีนกับมาลิอิกแอนไฮโดรด์เป็นสารช่วยผสมเติมในปริมาณ 1 3 และ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;จากการวิจัยพบว่า การเติมสารช่วยผสมทำให้สมบัติเชิงกลดีขึ้น แต่ลดลงเมื่อปริมาณมากเกินไป ดังนั้น สภาวะที่เหมาะสมของพอลิเมอร์ผสมนี้ใช้กระบวนการอัดรีดแบบเกลียวหนอนเดี่ยวที่ความเร็วรอบของสกรู 50 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 230<sup>o</sup>C ปริมาณสารช่วยผสม 1% ของน้ำหนักทั้งหมดและจากผลการศึกษาสมบัติทางสัณฐานวิทยาพบว่า พอลิโอลิฟินส์และพอลิเอทิลีนเทอเรฟทาเลทที่อัตราส่วน 50:50 สามารถเข้ากันได้ดีและมีบทบาทสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับพอลิเมอร์ที่เป็นสารตั้งต้นในการผสม พบว่า ค่าความโค้งงอสูงขึ้น ความทนทานต่อแรงกระแทกและความแข็งมีค่าอยู่ระหว่างพอลิเมอร์ตั้งต้นทั้งสอง ส่วนค่ามอดุลัสและความแข็งแรงดึงลดลง<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This special project aimed to study the optimum condition for processing of polyolefins and poly (ethylene terephthalate) blends using a compatibilizer. Polymer blends were prepared by using the two-roll mill and single-screw extruder techniques and then were investigated the mechanical and morphological properties. The blends ratio between polyolefins and poly (ethylene terephthalate) were varied from 0:100, 50:50 and 100:0, respectively. The polypropylene and maleic anhydride grafted copolymer as a compatibilizer was varied from 1, 3 and 5 percent by weight for comparison.<br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The research showed that the adding of compatibilizer increased the mechanical properties and then decreased when exceeded compatibilizer was added to polymer blends. The optimum condition of polymer blend from single-single-screw extruder used screw speed of 50 rpm, temperature of 230<sup>o</sup>C and added 1% by weight of compatibilizer. From studying the morphological properties, we found that the radio of 50:50 between polyolefins and poly (ethylene terephthalate) was blended well. Polymer blends from the optimum condition gave better flexural strength but lower modulus and tensile strength whereas impact strength and hardness values were between both starting polymers</p> สมศักดิ์ วรมงคลชัย ณัฐติอร ธัญญประกอบ วิภา ลีลาเอกเลิศ. Copyright (c) 5 1 40 52 ทรัพยากรบุคคลในชนบทที่มีคุณค่าต่อการพัฒนา https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3560 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;บุคคลชั้นนำ ผู้นำชุมชน มีบทบาทต่อการพัฒนาหมู่บ้านมาก ด้วยเหตุที่บุคคลเหล่านั้นเป็นแกนนำในการพัฒนา เป็นผู้ทำหน้าที่ประสานความร่วมมือระหว่างหมู่บ้านกับองค์กรภายนอก ดังนั้น กลุ่มบุคคลเหล่านี้เป็นกลุ่มที่จะสร้างความเจริญและความร่วมมือกับประชาชนในหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน</p> อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ Copyright (c) 5 1 53 55 โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา กับกิจกรรม 5 ส https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3561 เอกสารฉบับเต็ม จันทร์ชลี มาพุทธ Copyright (c) 5 1 56 57 อันตรายจากการประกอบอาชีพทางชีวภาพ https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3562 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ในปัจจุบันการเกิดโรคติดเชื้อจากการประกอบอาชีพยังคงพบเห็นอยู่เป็นประจำ ประเทศไทยมีสภาพอากาศร้อนชื้น มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และแพร่กระจายของเชื้อโรคหลายประเภทที่ปะปนอยู่รอบ ๆ ตัวคนเราขณะปฏิบัติงาน เช่น เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา คลามัยเดีย ริคเกตเซีย และปรสิต เป็นต้น โดยเฉพาะผู้ประกอบอาชีพมีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี ยิ่งมีโอกาสทำให้บุคคลกลุ่มนี้มีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อมากขึ้น สิ่งที่สำคัญคือผู้ประกอบอาชีพมีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี ยิ่งมีโอกาสทำให้บุคคลกลุ่มนี้มีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อมากขึ้น สิ่งที่สำคัญคือผู้ประกอบอาชีพควรที่จะรู้ถึงอันตรายของเชื้อโรคต่อการเจ็บป่วยและอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งการควบคุมป้องกันและแก้ไขการแพร่กระจายของโรคเพื่อสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจของผู้ประกอบอาชีพตลอดไป</p> อนามัย ธีรวิโรจน์ Copyright (c) 5 1 58 74 จากทฤษฎีว่าด้วยเมืองสู่การปฏิบัติ https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalbuu/article/view/3563 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;นับจากที่มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับผังเมือง ได้เข้าร่วมปฏิบัติงานในหลายหน้าที่ ได้เรียนรู้และประสบการณ์ในการพัฒนา ทั้งในส่วนชนบทและเมือง รวมทั้งพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ พื้นที่ชานเมือง จึงได้รวบรวมแนวคิด และมุมมองจากผู้ปฏิบัติในหลายพื้นที่ หลายประสบการณ์ เพื่อนำเสนอต่อแวดวงวิชาการผังเมือง อันจะนำไปสู่การร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหาของชุมชนเมืองและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง</p> อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ Copyright (c) 5 1 75 81