การเข้าสู่วาระนโยบาย : กรณีศึกษาการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่

Agenda Setting of Educational Reformation in Chiang Mai

Authors

  • ธันยวัฒน์ รัตนสัค

Keywords:

ตัวแบบพหุกระแส, วาระนโยบาย, คิงด็อน, การปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่, องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่, Multiple streams model, Agenda setting, Kingdon, Educational reformation in Chiang Mai, Chiang Mai provincial administrative organization

Abstract

บทความนี้ศึกษาการเข้าสู่วาระการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำตัวแบบพหุกระแสของจอห์น คิงด็อน มาวิเคราะห์ความเป็นมาของนโยบาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการก่อตัวของวาระการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ กระแสปัญหา กระแสนโยบาย กระแสการเมือง และผู้ประกอบการนโยบาย ผลการศึกษาพบว่าปัญหาการศึกษาของไทยทั้งด้านคุณภาพการศึกษา และโครงสร้างการบริหารการศึกษามีอิทธิพลต่อการเกิดกระแสปัญหาการศึกษาของเชียงใหม่ กระแสการปฏิรุปประเทศด้านต่างๆ รวมทั้งเวทีวิชาการระดับชาติที่มุ่งแสวงหาแนวทางปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ทำให้เกิดแนวคิดเชิงนโยบายการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ จนกระทั่งผู้ประกอบการนโยบายได้เปิดหน้าต่างแห่งโอกาส โดยการแถลงนโยบาย การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน นำไปสู่การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแผนแม่บทการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา  This article aims to study the agenda setting of educational reformation in Chiang Mai. The purpose is to analyze the importance of policies using the Multiple Streams Model offered by John Kingdom. The factors influencing the educational reformation in Chiang Mai are problem stream, policy stream, politics stream and the policy entrepreneur. The result reveals that the problem of education in Chiang Mai is according to the quality of education and the administrative structure. The overall national reformation including the academic realignment especially for the area-based educational management, was done to as the answer for the educational reformation. As such, the concept of agenda setting of educational reformation is proposed. The window of opportunity raised by the policy entrepreneurs has been opened since the policy of budget allocation is stated. Therefore, the agenda setting of educational reformation in Chiang Mai has been conducted as the model since 2016.

References

มติชน. (2562, 20กรกฎาคม). 20 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย ปมปัญหาที่ยังคงต้องแก้ไข. วันที่ค้นข้อมูล 1 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.matichon.co.th/advertorial/news_ 1597058

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

การแถลงข่าวผลการประเมิน PISA2018 วันอังคารที่ 3 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล อาคารรัชมังคลาภิเษก กระทรวงศึกษาธิการ. วันที่ค้นข้อมูล 2 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จากhttps://pisathailand.ipst.ac.th/news-12/

เกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์. (2550). การวิเคราะห์กระบวนการนโยบายสาธารณะในการแก้ไขปัญหามลพิษจากกิจกรรมเหมืองแร่: กรณีศึกษาการปนเปื้อนของสารตะกั่วบริเวณหมู่บ้านคลิตี้ล่างจังหวัดกาญจนบุรี. สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ, 5(2), 122-132.

ชนิดา จิตตรุทธะ. (2561). นโยบายสาธารณะ แนวคิด การวิเคราะห์ และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แนวหน้า. (2558, 30 กรกฎาคม). “ชลบุรี” เดินหน้าปฏิรูปการศึกษาทั้งจังหวัดสู่ “การมีงานทำ” เปิด “ชลบุรีโมเดล” จับมือภาคอุตฯเตรียมความพร้อมสู่โลกการทำงาน. วันที่ค้นข้อมูล 1 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.naewna.com/local/171268

ณัฐวุฒิ จินารัตน์. (2554). กระบวนการผลักดันนโยบายสาธารณะ: ศึกษากรณีร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.2550. การจัดการป่าไม้, 5(9), 9-25.

ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2561). รายงานการศึกษาการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ : การปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

นพดล อุดมวิศวกุล. (2548). การเข้าสู่วาระและการกำหนดนโยบายสาธารณะ: ศึกษากรณีนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ์. (2557). การเข้าสู่วาระนโยบายระบบขนส่งทางรางในประเทศไทย: กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงโดยใช้ตัวแบบของคิงด็อน. วิทยานิพนธ์การศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง, ภาควิชาการปกครอง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ์. (2558). การศึกษาการเข้าสู่วาระนโยบาย: วิเคราะห์ตัวแบบพหุกระแสและการนำไปใช้. การเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 7(3), 301-331.

ปิยากร หวังมหาพร. (2546). นโยบายผู้สูงอายุของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต,สาขาวิชารัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรชัย ปานอ่อน. (2559). การกาหนดนโยบายจดทะเบียนคู่ชีวิต. บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา,9(1ฉบับพิเศษ), 113-127.

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค. (2563). มองผลสัมฤทธิ์และความเหลื่อมล้าทางการศึกษาผ่านการประเมินผล PISA ของประเทศไทย. วันที่ค้นข้อมูล 1 สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.pier.or.th/wp-content/uploads/2020/03/aBRIDGEd_2020_005.pdf

วทัญญู ใจบริสุทธิ์. (2562). การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนนโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product: OTOP) ของไทยและนโยบายหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Village One Product: OVOP) ของญี่ปุ่น. ญี่ปุ่นศึกษา, 36(2), 17-39.

ศักรพร ถิริศิริกุล. (2549). กระบวนการกำหนดนโยบายปฏิรูปที่ดินของประเทศไทย: ศึกษากรณีกฎหมายปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมหมาย ปาริจฉัตต์. (2560). 4 ข้อเสนอประชาสังคมเชียงใหม่. ใน มติชนสุดสัปดาห์ฉบับวันที่ 10–16 กุมภาพันธ์ 2560. วันที่ค้นข้อมูล 1สิงหาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.matichonweekly.com/column/article _25019

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2557). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ.2558-2562. เชียงใหม่: องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สำนักการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำนักงานเลขานุการภาคีเชียงใหม่เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (2558). แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ (พ.ศ. 2559 -2562). เชียงใหม่ : องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2559ก). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ. 2561 -2564). เชียงใหม่ : องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2559ข). ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพุทธศักราช 2560. เชียงใหม่ : องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2560). ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560. เชียงใหม่ : องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่สำนักการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม. 2560. แผนพัฒนาการศึกษา 4 ปี (พ.ศ. 2561 -2564) ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.

Béland, D., & Howlett, M. (2016). The Role and Impact of the Multiple-Streams Approach in Comparative Policy Analysis. Journal of Comparative Policy Analysis: Research and Practice,18(3), 221-227.

Cairney, P., & Zahariadis, N. (2016). Multiple Streams Approach: A Flexible Metaphor Presents and Opportunity to Operationalize Agenda Setting Processes. In Zahariadis, Nikolaos (Ed.). Handbook of Public Policy Agenda Setting. Cheltenham, UK and Northampton, MA: Edward Elgar.

Kingdon, J.W. (1984). Agendas, Alternatives and Public Policies. Boston: Little, Brown Company.

Widyatama. B. (2018). “Applying Kingdon’s Multiple Streams Framework in the Establishment of Law No. 13 of 2012 Concerning the Privilege of Yogyakarta Special Region. Journal of Government and Civil Society, 2(1), 1-8.

Downloads

Published

2022-10-30