The debut of the Bangkok neighborhood watch program: How to attract more participants
Keywords:
Neighborhood watch program, Participation, Publicity, Crime prevention, Bangkok, โครงการฝากบ้านกับเพื่อนบ้าน, ที่อยู่อาศัย, การประชาสัมพันธ์Abstract
The purpose of this research is to identify the factors influencing the participation of Bangkok residents in the Bangkok Neighborhood Watch Program (BNWP) and to evaluate their influence. In this study, a triangulation method of both quantitative and qualitative analyses is employed to understand the factors that influence the participation of Bangkok residents. In the qualitative analyses, a test of independency and logistic regression analysis are used. In the qualitative analyses, a focus group and documentary analysis are used to fill the gaps in research. With regard to personal attributes, the important findings from research are that female’s trend in the program than male. In addition, publicity has a direct positive relationship with citizen’s participation in the program. Magazines, newspaper, and the television are the best publicity channels used to influence the residents in participating in the Bangkok Neighborhood Watch Program. Besides, implication from quantitative analysis is that budget plays a critical role in the success of the program promotion. In the final part of this essay, four important components of BNWP improvement are suggested. These four components are (1) budget allocation adequacy, (2) appropriate channels to broadcast messages, (3) appropriate contents of messages to gain attention and regulation from target residents, and (4) perceiving feedback of BNWP publicity. วัตถุประสงค์ของวิจัยนี้เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ ฝากบ้านกับเพื่อนบ้านของประชาชนที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยในการศึกษานี้ได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการหาคำตอบของวิจัยนี้ สำหรับในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณนั้นได้ดำเนินการทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยแบบโลจิสติก ส่วนในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพนั้นได้ดำเนินการโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนธนากลุ่มของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ และกาศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ในส่วนของการวิเคราะห์เชิงคุณภาพจะเป็นส่วนสนับสนุน และยืนยันข้อค้นพบจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณได้เป็นอย่างดี ผลการวิจัยในเบื้องต้นจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณที่สำคัญ คือ ประชาชนที่เป็นผู้หญิงจะมีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการฝากบ้านกับเพื่อนบ้านมากกว่าผู้ชาย สำหรับข้อค้นพบอีกประการที่สำคัญคือ การประชาสัมพันธ์ของโครงการส่งผลไปในทิศบวก ต่อการเข้าร่วมโครงการฝากบ้านกับเพื่อนบ้านของประชาชน โดยสื่อที่ส่งใช้ได้ผลที่สุดในการเชิญชวนประชาชนเข้าร่วมโครงการฝากบ้านกับเพื่อนบ้าน คือ นิตยสาร รองลงมาคือ หนังสือพิมพ์ และโทรทัศน์ สำหรับผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่สำคัญ พบว่า งบประมาณมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จในการประชาสัมพันธ์โครงการนี้ ในส่วนสุดท้ายของบทความนี้ ได้นำเสนอแนวทางการปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ของโครงการฝากบ้านกับเพื่อนบ้าน ซึ่งประกอบไปด้วยสี่ส่วนสำคัญ ทที่ผู้บริหารโครงการนี้ควรพิจารณา คือ (1) การเพิ่มงบประมาณให้เพียงพอต่อการประชาสัมพันธ์ (2) การเลือกสื่อที่เหมาะสมในการประชาสัมพันธ์ (3) การออกแบบข้อความในการประชาสัมพันธ์ที่ตรงใจกับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการ (4) การประเมิณผลตอบรับในการเข้าร่วมโครงการจากประชาชนเมื่อมีการปรับปรุงการประชาสัมพันธ์โครงการอย่างสม่ำเสมอDownloads
Issue
Section
Articles