Good governance perspective on spatial planning in Batu City as a tourism city

Authors

  • Sekarsari Retno Wulan
  • Samrit Yossomsakdi
  • FeftaWijaya Andy
  • Chakkri Chaipinit

Keywords:

Good governance, Tourism, Spatial planning

Abstract

การวางแผนเชิงพื้นที่ (Spatial Planning) เป็นการวางแผนที่ต้องการปรับปรุงสวัสดิการของชุมชน และเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งแวดล้อมที่ดีมีความยั่งยืนโดยคำนึงถึงความได้เปรียบเสียเปรียบในพื้นที่ และลดช่องว่างของการพัฒนาโดยการลดพื้นที่สลัม ลดพื้นที่ยากจนและด้อยพัฒนา นโยบายการวางแผนเชิงพื้นที่เป็นนโยบายที่จะควบคุมระดับความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ไม่เป็นระเบียบ และการเจริญเติบโตในเมืองหรือบริเวณใกล้เคียง บทบาทของรัฐบาลเมืองบาตูคือ ต้องยอมรับว่าเมืองเป็นบริเวณที่มีความปลอดภัย สะดวกสบาย มีประสิทธิผล และยั่งยืน เป็นเมืองน่าอยู่อาศัย และเป็นเมืองท่องเที่ยวในจังหวัดชวาตะวันออก บทความนี้จะใช้มุมมองการกำกับดูแลกิจการที่เป็นธรรมาภิบาลและทฤษฏีระบบในการวิเคราะห์ การกำหนดนโยบายและการวางแผนเชิงพื้นที่ในเมืองบาตูบทความนี้เริ่มแรกจะอธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยว ประการที่สองจะอธิบายเกี่ยวกับอำนาจและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการกำหนดแนวการวางแผนเชิงพื้นที่ ประการที่สาม จะชี้แจงมุมมองแบบธรรมาภิบาลในการวางแผนเชิงพื้นที่ในเมืองบาตู และวิเคราะห์ปัจจัยที่สนับสนุนและขัดขวางในการวางแผนเชิงพื้นที่ในเมืองบาตู ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าเพียงปัจจัยและตัวกระทำบางอย่างก็มีอิทธิพลอย่างมากต่อการกำหนดนโยบายการวางแผนเชิงพื้นที่ Spatial planning is an effort to improve the welfare of the community and to ensure environmental sustainability taking into accounts the comparative advantages in an area and minimizing the development gap by reducing slums, and poor and underdeveloped areas.  Regional Spatial Planning Policy is a kind of policy product to control the level of environmental damage and the disorganized development and growth in a city or regency.  The role of Batu City Government is torealize Batu City space that is safe, comfortable,  productive and sustainable as a superior agropolitan city and tourism city in East Java Province.  This article utilized Good Governance Perspective and System Theory to analyze the formulation of Regional Spatial Planning Policy in Batu City.  This article firstly explained about tourism development,  and secondly described the authority and responsibility of stakeholders in spatial planning formulation.  The third part clarified good governance perspective on spatial planning in Batu City and analyzed supporting and inhibiting factors in spatial planning formulation in Batu City.  The findings showed that only some actors and factors had strong influence over the formulation of Regional Planning Policy.

Downloads