การบริหารจัดการหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยในการตอบสนองต่อการศึกษาแบบสากล

Authors

  • Damisa Pongphim

Keywords:

การศึกษาขั้นอุดมศึกษา - - หลักสูตร, การศึกษา - - หลักสูตร, หลักสูตร

Abstract

ีแนวโน้มมากมายในการตอบสนองต่อการศึกษาแบบสากลโดยการ บริหารจัดการหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย งานวิจัยนี้มุ่งมั่นที่จะ วิเคราะห์การปฏิรูปการศึกษาให้เป็นสากลในมหาวิทยาลัย 2 แห่งของรัฐ คือ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และมหาวิทยาลัยเอกชน 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัย พายัพ มีการสรุปว่า ยกเว้นในกรณีของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยเหล่านี้มีหลักฐานที่สะท้อนว่ามีกลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยนหลักสูตร การศึกษาให้เป็นสากลเพื่อตอบสนองต่อความต้องการการศึกษาของโลก วิธีการเดียวที่ใช้ในการวิเคราะห์กรณีต่าง ๆ นั่นคือ ผู้วิจัยจะไปสำรวจใน เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย เพราะไม่มากก็น้อย วิธีนี้จะทำให้เก็บหลักฐานได้ เพียงพอในการพิสูจน์ว่ามหาวิทยาลัยเหล่านี้มีความพยายามเพียงพอ มีโปรแกรมอำนวยความสะดวก มีบริการและหลักสูตรพร้อมที่จะให้การศึกษาที่ สมบูรณ์ที่สามารถรับมือและเผชิญกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงจากมุมมอง เศรษฐกิจในท้องถิ่นไปสู่สังคมโลกได้There is a much sought trend in responding to the internationalisation of education by way of managing the curriculum in the higher education level in Thailand. This research aims to analyse the internationalisation of two public universities namely, Ramkamhaeng University and Princess of Naradhiwas University; and two private universities namely, Bangkok Universityand Payap University. It was concluded that, except for the case of Princess of Naradhiwas University, these universities have profound evidences of having strategies to internationalise their curriculum to respond to the demands of globalisation of education. The only method used in analysing the cases were for the researcher to visit the universities’ website because, more or less, this method can already gather enough evidences to prove that these universities are doing enough efforts, programs, facilities, services and courses to provide a more holistic education that can confront and tackle the needs of a transitory economy, from local to a global perspective.

Downloads