การบูรณาการโดยผ่านการสร้างความแตกต่างหลากหลาย? กรณีสหภาพยุโรป

Authors

  • มาร์โก บรูนาซโซ

Keywords:

วิกฤติพื้นที่ยูโร, การบริหารจัดการเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป, การสร้างความแตกต่างหลากหลายของสหภาพยุโรป, ความยืดหยุ่นของสหภาพยุโรป, การบูรณาการระดับภูมิภาค

Abstract

          สหภาพยุโรปกำลังมีสถาบันที่แตกต่างหลากหลายและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่แล้วสิ่งนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับตั้งแต่การอนุมัติกฎหมายยุโรปเดียว การสร้างความแตกต่างหลากหลาย(ด้วยการนิยามแบบหลายแง่มุมและหลายมิติ) เข้าใจกันว่าเป็นทางออกจากสภาวะชะงักงันที่สหภาพยุโรปกำลังเผชิญอยู่ ยิ่งไม่นานนี้ วิกฤติเศรษฐกิจสนับสนุนการสร้างความแตกต่างหลากหลายโดยเชื่อว่าเป็นตัวแบบหนึ่งในการบูรณาการสหภาพยุโรปเข้าด้วยกันมากยิ่งขึ้น          บทความนี้มีเป้าหมายในการตอบคำถามดังนี้ : แนวคิดการบูรณาการที่ยืดหยุ่นได้รับการพัฒนาขึ้นในสหภาพยุโรปอย่างไร ปัจจุบันสหภาพยุโรปใช้การจัดการที่ยืดหยุ่นแบบใดบ้าง สหภาพยุโรปกาลังมุ่งไปในแนวทางของประเทศสมาชิกที่แข็งตึงสุดขั้ว หรือจะสืบสานตามแนวทางการแก้ปัญหาอย่างได้ผลด้วยการใช้ความยืดหยุ่นต่อไป กล่าวให้กว้างขึ้น ความยืดหยุ่นมีความหมายโดยนัยยะเป็นประการใดต่อทฤษฎีการบูรณาการสหภาพยุโรป           The EU is becoming more institutionally differentiated and flexible. To a large extent, this is not new. In particular, since the approval of the Single European Act, differentiation (with its multidimensional and multifaceted definitions) has been seen as a way to exit the EU stalemate. More recently, differentiation has been fostered by the economic crisis, and it has been conceived as a model for further EU integration.          The paper aims at answering the following questions: How was the concept of flexible integration developed in the EU? What kinds of flexible arrangements are now used in the EU? Is the EU (inevitably) moving towards a hard core of Member States or will the EU continue on its path of practical problem solving through flexibility? More in general, what are the implications of flexibility for the theory of EU integration?

Downloads