การเลือกตั้ง 2562 : เส้นทางสู่ประชาธิปไตยภายใต้อำนาจนิยม

The Election 2562: Democracy under Authoritarian Time Line

Authors

  • กันตพัฒน์ ชนะบุญ

Keywords:

ประชาธิปไตย, อำนาจนิยม, การเลือกตั้ง, Democracy, Authoritarian, Election

Abstract

แนวคิดประชาธิปไตยกับอำนาจนิยมถือเป็นแนวคิดที่อยู่ตรงกันข้าม หากแต่คุณลักษณะของแนวคิดประชาธิปไตยเป็นที่นิยมในหลายประเทศ ทั้งนี้เพราะเป็นแนวคิดที่นำมาซึ่งผู้ปกครองที่เป็น ที่ยอมรับด้วยวิธีการการเลือกตั้ง ที่เป็นหลักการหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย หากแต่ในประเทศที่เกิดการรัฐประหารและมีการสถาปนาผู้ปกครองโดยไม่เป็นไปตามครรลองประชาธิปไตย การใช้อำนาจแบบอำนาจนิยมของผู้ปกครองก็เข้าแทนที่ ซึ่งจะส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชนที่ต่างเฝ้ารอการเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นอีกครั้ง ในช่วงระหว่างประชาธิปไตยกำลังถูกลดทอนลงกับการสะสมอำนาจนิยมของกลุ่มบุคคลที่ครองอำนาจทางการเมือง ย่อมทำให้กลุ่มบุคคลที่ครองอำนาจมีแนวโน้มนำกลุ่มอำนาจเข้าสู่กระบวนการทางการเมืองตามขั้นตอนของประชาธิปไตยภายใต้บรรยากาศที่ยังไม่เปิดกว้างทางการเมือง งานเขียนชิ้นนี้ต้องการชี้ให้เห็นถึงลักษณะของประชาธิปไตยกับลักษณะของอำนาจนิยมที่มีเกื้อกูลกันและกัน โดยกลุ่มบุคคลทางการเมืองบางกลุ่มที่มีอำนาจได้ใช้อำนาจนิยมกำหนดวิธีการเข้าสู่กระบวนทางการเมืองจนสำเร็จท่ามกลางสังคมการเมืองที่ใช้สิทธิและเสรีภาพเรียกร้องในเชิงสนับสนุนและคัดค้าน  The concept of democracy and power is considered the opposite. But the characteristics of democratic concepts are popular in many countries. This is because it is a concept that brings parents who are accepted with the election method. That is one of the principles of democracy but in the country where the coup d'etat and the guardianship were established without a democratic process The power of parental power is replaced Which will affect the lives of people who are waiting for the upcoming elections again During the period of democracy was reduced to the accumulation of power among the people who dominated political power. Would cause a group of people who have power to tend to lead the power group into the political process in accordance with the democratic process under an open political atmosphere. This writing needs to point out the characteristics of democracy and the characteristics of popular powers that are complementary to each other. By political groups that have the power to exercise power to determine how to enter the political process until the political society that uses rights and freedoms to support and oppose.

References

เกษียร เตชะพีระ.(2558). เสรีนิยมกับประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คบไฟ.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2544). การเมือง แนวความคิดและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์.

สิทธิพันธ์ พุทธหุน. (2544). ทฤษฎีพัฒนาการเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2554). รัฐกับสังคม: ไตรลักษณ์รัฐไทยในพหุสังคมสยาม. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

ไชยันต์ ไชยพร. (2540). บทความปรัชญาการเมืองว่าด้วยกำเนิดประชาธิปไตยเอเธนส์ : การเมืองในประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ในการเมือง. ในเอกสารประกอบการสอนนิสิตปริญญาเอก (อัดสำเนา)., กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีดี พนมยงค์. (2552). แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2557). ไตรทัศน์วิจารณ์ : ความคิดว่าด้วยพุทธศาสนา สถาบันกษัตริย์และประชาธิปไตย ของ ส. ศิวรักษ์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2542). การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง : ข้อพิจารณาเบื้องต้นในเชิงปรัชญาสังคมศาสตร์. โครงการผลิตตำราและเอกสารการสอน คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Gandhi, J. (2008). Political Institutions under Dictatorship. New York: The United States of America by Cambridge University Press.

McKenzie, W. J. M. (1969). Political and Social Science. Baltimore: Penguin Books, Inc.

Miller, J. D. B. (1962). The Natures of Politics. London: Gerald Duckworth.

Downloads

Published

2023-01-05