ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการกำหนดโยบายการดูแลผู้สูงอายุ จังหวัดกาฬสินธุ์

Factors Associated with the Availability of Designated Elderly Care Policy in Kalasin Province

Authors

  • พิพิธธนวดี สมคะเณย์
  • วรกร วิชัยโย
  • ยุทธพงษ์ เขื่อนแก้ว
  • วรรณธิดา ยลวิลาศ

Keywords:

การมีส่วนร่วม, นโยบายผู้สูงอายุ, การดูแลผู้สูงอายุ, Participatory, Policy of elderly, Care for the elderly

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความพร้อมในการกำหนดโยบายการดูแลผู้สูงอายุ จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 287 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.4 อายุระหว่าง 36-440 ปี คิดเป็นร้อยละ 43.9 ระดับการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 66.6 ประสบการณ์การทำงานบทบาทหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 47.4 มีระดับความรู้เรื่องเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 444.80 (ค่าเฉลี่ย 20.73 คะแนน, S.D.= 5.67 คะแนน) ทัศนคติต่อการกำหนดนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ มีทัศนคติ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 48.40 คะแนน (ค่าเฉลี่ย = 77.48 คะแนน, S.D.= 12.93 คะแนน) โดยส่วนใหญ่มีระดับการมีส่วนร่วมในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ อยู่ในระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 71.8 (ค่าเฉลี่ย = 72.03 คะแนน, S.D.= 15.34 คะแนน) และความพร้อมในการกำหนดนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ อยู่ในระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 40.04 (ค่าเฉลี่ย = 13.70 คะแนน, S.D.= 2.87 คะแนน)  This action research objective to study the Factors associated with the availability of designated elderly care policy in Kalasin province. The simple random sampling technique and the sample number of 287 people. They used the Descriptive Research. The data were collected using a test and questionnaire. The collected data were analyzed using frequency, percentage, mean and standard. The study showed the sample was mostly females by 56.4%. Ages in overall are 36-40 years old by 43.9%. Most level of education was Undergrad degrees by 6.6% and experiences of involved for policy elderly care are 3-5 years old by 47.4%. The results showed that the development group has knowledge about the participating organizations involved for policy elderly was 44.8% (mean=20.73, S.D. = 5.67) have high level. Attitude about the participating organizations involved for policy elderly was 77.48% (mean =77.48, S.D. = 12.93) have middle level and the participation by the involved for policy elderly was 71.80% (mean = 72.03, S.D. = 15.34) have low level and availability of organizations involved for policy elderly was 40.04% (mean = 13.70, S.D. = 2.87) have low level.

References

กานต์รวี กอบสุข. (2554). รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้านโคก บรรเลง ตำบลบุฤาษี จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล, กุศล สุนทรธาดา และคณะ. (2557). การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 8(2), เมษายน- มิถุนายน 2557.

จันทิรา เพียรอดวงษ์. (2554). การพัฒนาการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลคันธารราษฎร์ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จุฬาภรณ์ โสตะ. (2546). กลยุทธ์การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ธวัชชัย เติมใจ. (2555). การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุอำเภอปรางค์กู่จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2546). นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นาถวิทักษ์ มูลสาร. (2556). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมห้องแซง ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมศาสตร์, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บรรลุ ศิริพานิช. (2532). เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

บุญมาก ไชยฤทธิ์. (2556). รูปแบบการพัฒนาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระดับชุมชน ตำบลโป่งเปือย อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการ จัดการระบบสุขภาพ, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไพบูลย์ เจริญวงค์. (2556). รูปแบบการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพผู้สูงอายุบ้านคำโพน ตำบลโพน อำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มยุรี อนุมานราชธน. (2547). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิด กระบวนการ และการวิเคราะห์. เชียงใหม่: คนึงนิจการพิมพ์.

วิสุทธิ บุญน้อยกอ. (2544). ความสำเร็จในการนำนโยบายการจัดการมูลฝอยไปปฏิบัติของเทศบาลตำบล. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิราณี อินทรหนองไผ่. (2546). พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ. คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์, (2556). สรุปทิศทางยุทธศาสตร์ สสจ.กาฬสินธุ์ ปี 2555-2560. วันที่ค้นข้อมูล 12 พฤษภาคม 2562, เข้าถึงได้จาก http://203.157.186.15/files_news/1_2559%20edited%2025590126.pdf.

สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ และคณะ. (2550). รูปแบบการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุมชน. นนทบุรี: มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ปี 2555 – 2559. วันที่ค้นข้อมูล 12 ธันวาคม 2557, เข้าถึง ได้จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2551). รายงานการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550 กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. (2555). การสาธารณสุขไทย. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหาร.

สุชา จันทร์เอม. (2531). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุชรินทร์ พีรยานันท์ และไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2562). การศึกษานโยบายและมาตรการเชิงกลยุทธ์ในการดูแลสวัสดิการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุไทย. คณะรัฐประศาสนศาสตร์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2539). สังคมวิทยาชุมชน. ขอนแก่น: สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนาคณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Hamilton, N., & Bhatti, T. (1996). Population Health Promotion: an Integrated Model of Population Health and Health Promotion. Ottawa: Health Promotion Development. Division Health Canada.

Kongtong, Y., & Romprasert, S. (2015). Policy response on sustained Thailand aging population growth. Proceedings of the International Conference on Global Business, Economics, Finance and Social Sciences (GB15_Thai Conference) Bangkok, Thailand, 20-22 February 2015. Paper ID: T527.

Petchayapaisit, C. (2009). Guidelines and Legal Measures related to Elderly Welfare in Thailand. Retrieved August 14, 2019, from http://www.RESguidelines-legal-measuresrelating-welfare-Thailand_HSRI_1999.pdf

Suwanrada, W. (2010). Systhesis of long term care System for the elderly in Thailand. Research Report. Foundation of Thai Geronthology Research and Development Institute.

Downloads

Published

2023-01-05