การศึกษาสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
Multicultural Society Study for Implementation in Southern Border Provinces
Keywords:
สังคมพหุวัฒนธรรม, การกำหนดนโยบาย, การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ, จังหวัดชายแดนภาคใต้, Multicultural Society, Policy Formulation, Implementation of the Policy, Southern Border ProvincesAbstract
บทความนี้เป็นบทความจากการวิจัยเชิงเอกสาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเชิงคุณภาพในหัวข้อ การกำหนดและการนำไปสู่การปฏิบัติของนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยที่เกี่ยวข้องคือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการกำหนดนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 2) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำไปสู่การปฏิบัติของนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ บทความได้นำเสนอถึงนิยามของคำว่าสังคมพหุวัฒนธรรมอันมีความหลากหลาย ซึ่งความหมายโดยรวมนั้นหมายถึงสังคมที่อยู่ร่วมกันภายใต้วัฒนธรรมอันมี ความหลากหลายแตกต่างกัน ลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรมนั้นมีทั้งในแบบที่เป็นพหุวัฒนธรรมนิยมแบบอนุรักษ์นิยม (Conservative Multiculturalism) พหุวัฒนธรรมนิยมแบบเสรีนิยม (Liberal Multiculturalism) พหุวัฒนธรรมเชิงวิพากษ์ (Critical Multiculturalism) โดยมีตัวแบบการใช้สังคมพหุวัฒนธรรมในลักษณะต่างๆ หลากหลายประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลีย ประเทศมาเลเซีย และแม้แต่องค์กรนานาชาติอย่างประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รัฐบาลไทยก็ได้ทำการกำหนดนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมรวมถึงการนำไปสู่การปฏิบัติด้วยเช่นกัน This article is a documentary research article which is a part of qualitative research in the topic of Multicultural Society Policy Formulation and Implementation in Southern Border Provinces of Thailand. The research objectives are 1) study of multicultural society policy formulation in Southern Border Provinces of Thailand and 2) study of multicultural society policy implementation in Southern Border Provinces of Thailand. This article also presents the meaning of multicultural society which is the society consist of culture variety. The multicultural society character and type are the Conservative Multiculturalism, the Liberal Multiculturalism and the Critical Multiculturalism. Multicultural Society model from various countries such as Australia, Malaysia and international organization such as ASEAN. Finally, Thailand has formulated and Implemented the Multiculturalism Society to solve the insurgency problem in Southern Border Provinces of Thailand.References
กฤษติกา คงสมพงษ์. (2552). บริหารการตลาดในพหุวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันบัญฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ครองชัย หัตถา. (2550). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องสังคมพหุวัฒนธรรมกับความมั่นคงของชาติกรณีจังหวัดชายแดนใต้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ดุลยภาค ปรีชารัชช. (2555). อัตลักษณ์และวิสัยทัศน์ของอาเซียนกับความหลากหลายในประชาคมเดียว. วันที่ค้นข้อมูล 11 มกราคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.siamintelligence.com/diversity-of-ethnic-groups-in-asean-community/
นิชานท์ สิงหพุทธางกูร. (2560). พลังอาเซียนดับไฟใต้ หาจุดเชื่อมต่อรัฐ-ผู้ก่อเหตุรุนแรง. วันที่ค้นข้อมูล 11 มกราคม 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/ 56219-nichan.html
นิติไทย นัมคณิสรณ์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนวิชา ศท 121 การดํารงชีวิตในสังคมยุคใหม่และประชาคมอาเซียน.วันที่ค้นข้อมูล 12 มกราคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://ge.kbu.ac.th/Download9_files/img/06.pdf
รุ่งทิวา นาคอุไร. (2545). การพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซีย: ศึกษาวิสัยทัศน์ 2020. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2559). ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภการ ศิริไพศาล และอดิศร ศักดิ์สูง. (2552). การดำเนินนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในรัฐเคดาห์และปีนัง ของมาเลเซีย ค.ศ. 1970 – 2008. ชุดโครงการวิจัย “มาเลเซีย:นัยสำคัญที่มีต่อไทย”. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. วันที่ค้นข้อมูล 12 มกราคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://www.royin.go.th /dictionary/
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559).นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560–2562. วันที่ค้นข้อมูล 11 มกราคม 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.nsc.go.th/Download1/ south_border60-62.pdf
สุภางค์ จันทวานิช. (2550). บทสังเคราะห์พหุวัฒนธรรมในสังคมไทยผ่านการย้ายถิ่นข้ามแดน. ใน พหุลักษณ์ในสังคมไทย (หน้า 6). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
อมรา พงศาพิชญ์. (2545). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม กระบวนทัศน์และบทบาทในประชาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Aristotle. (1905). Aristotle's Politics. Oxford: Clarendon Press.
Association of Southeast Asian Nations. (2016). Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia Indonesia, 24 February 1976. Retrieved January 11, 2017, from http://asean.org/treaty-amity-cooperation-southeast-asia-indonesia-24-february-1976/
Australian Government Department of Social Services. (2014). Retrieved January 12, 2017, from https://www.dss.gov.au/our-responsibilities/settlement-and-multicultural-affairs/ publications/fact-sheet-australias-multicultural-policy
Banting, K., & Kymlicka, W., (Eds). (2006). Multiculturalism and the Welfare State: Recognition and Redistribution in Contemporary Democracies. Oxford: Oxford University Press.
Chandra, B., & Mahajan, S. (2007). Composite Culture in a Multicultural Society (Kindle Edition). London: Pearson Longman.
Kymlicka, W. (2012). Multiculturalism: Success, Failure, and the Future. Washington, DC: Migration Policy Institute.
Kymlicka, W. (2018). Liberal Multiculturalism as a Political Theory of State-Minority Relations, SAGE journals. Retrieved January 12, 2017, from https://journals.sagepub.com/doi/full/10.1177/0090591717696021
Larison, D. (2005). Conservative Multiculturalism? In The American Conservative. Retrieved January 22, 2020, from at https://www.theamericanconservative.com/larison/conservative- multiculturalism/
Michelle, A., Koh, Y., Bryant, K., Nordstrom, A. R., & Owens, K. U. (n.d.). Critical Multiculturalism Beautiful Rising. Retrieved January 12, 2017, from https://beautifulrising.org/tool/critical-multiculturalism
Oxford. (2018). Oxford Dictionary. Oxford, UK: Oxford University Press.