คุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Service Quality of Financial and Accounting Operation of Political Science and Law, Burapha University
Keywords:
คุณภาพ, การบริการ, การเงินและบัญชี, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, Quality, Service, Finance and Accounting, Faculty of Political Science and LawAbstract
การวิจัยเรื่อง คุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบไปด้วย ประเภทการใช้บริการ ความถี่ในการใช้บริการ วันที่ติดต่อขอรับบริการ และช่วงเวลาการใช้บริการ โดยใช้เครื่องมือเก็บแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 64 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ใช้บริการด้านการรับเงิน ซึ่งความถี่ในการมาใช้บริการไม่เกิน 2 วันต่อสัปดาห์ ซึ่งวันที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะใช้บริการจะเป็นศุกร์ ในช่วงระยะเวลา 13.00 – 16.00 น. และความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า ผู้ใช้บริการมีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการ การปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในภาพรวมมีความเหมาะสมของการให้บริการอยู่ในเกณฑ์มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเชื่อมั่นในการให้บริการด้านเงินและบัญชี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา คือ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านความเอาใจใส่ ด้านความเป็นรูปธรรม ด้านการตอบสนอง ตามลำดับ The research on Service of Financial and Accounting Operation of Political Science and Law, Burapha University. aims to survey the opinions of users regarding to quality of financial and accounting operations service and examine the behavior of users including a type of service, frequency, date, and period of requesting to get service. the questionnaire was used to collect data from 64 participants. Data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation. The result showed that the frequencies of getting service was less than 2 days per week. The mostly get service of participants was reimbursement service. Majority of participants prefer to get service during 1 PM to 4 PM on Friday. The overall opinions of users regarding to quality of the financial and accounting operations service in Faculty of Political Science and Law Burapha University was high level of suitability. To consider in each aspect found that the highest score average was a confidence to get service from the financial and accounting service of Faculty of Political Science and Law, Burapha university, followed by a reliability, attentiveness, substantiality and responsiveness, respectively.References
เกษตรพันธุ์ ชอบทำกิจ. (2546).ประสิทธิภาพการบริหารงานบริการภาครัฐศึกษากรณีสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
เกษร ศรีกุล. (2549). งานบัญชีและคุณสมบัติของผู้บริหารการเงินและบัญชี. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www2.tsu.ac.th/health_sci/main/files_sec3/3112071212201212งานบัญชีและคุณสมบัติของผู้บริหารการเงินและบัญชี (2549).pdf
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์.(2555). ความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจ. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.polsci-law.buu.ac.th/
จิตตินันท์ เดชะคุปต์. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาบริการใมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาการบริการ หน่วยที่ 1-7. (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
จันทนา ประสงค์กิจ. (2552). คุณภาพการบริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำกัด (มหาชน) สาขาย่อยแหลมฉบังอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชลธิชา ศรีบำรุง. (2557).คุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงเทพ สาขาดอนหัวฬ่อ จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2554). ทฤษฎีของคุณภาพการให้บริการ. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?pageid=4&bookID=1285&read=true&count=true
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2552). การตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
มณีรัตน์ แตงอ่อน. (2551). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทัศนคติในการรับบริการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กรณีศึกษา สำนักบริการการศึกษามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563,เข้าถึงได้จาก http://www.research.rmutt.ac.th/?p=2960
เมธากุล เกียรติกระจาย และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2544). ทฤษฎีการบัญชี (พิมพ์ครั้งที่ 9).กรุงเทพฯ: ภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2551). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: เกษตรศาสตร์.
รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์. (2551). จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
รัชยา กุลวานิชไชยนันท์. (2535). รายงานการวิจัยเรื่องความพึงพอใจของผู้ประกันตนต่อบริการทางการแพทย์:ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ประกันตนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: สำนักงานประกันสังคม.
วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2542). คุณภาพในงานบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ประชาชน.
เบญชภา แจ้งเวชฉาย. (2559). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้โดยสารรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสะบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2523). องค์การกับลูกจ้าง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พนิดา เพชรรัตน์. (2556). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้เสียภาษีอากร สำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
พิสณุ ฟองศรี. (2549). วิจัยทางการศึกษาแนวคิดทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เทียมฝ่าการพิมพ์.
สุพัตรา สุภาพ. (2541). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุนันทา ทวีผล. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านให้ค้าปรึกษาแนะนำปัญหาด้านกฎหมายของสำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย 3 (สคช.). ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.
ศิริวรรณ วุ่นจินา. (2554). ความพึงพอใจของผู้มีสิทธิ์รับเงินต่องานบริการจ่ายเงิน: กรณีศึกษากองคลังและพัสดุ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาสังคม, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2554). ตัวอย่างคุณภาพการให้บริการของภาครัฐไทย. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?pageid=9 &bookID =1285&read=true&count=true
สำนักงานชลประทานที่ 12. (2558). หน้าที่และความรับผิดชอบของงานการเงินและบัญชี. วันที่ค้นข้อมูล 22 ตุลาคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.rio12.go.th/management/หน้าที่และความรับผิดชอบของงานการเงินและบัญชี.html
อตินุช ครุฑเดชะ. (2552). คุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขานิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (เขตประกอบการเสรี 2) จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
อนุวัฏ บรรลุทางธรรม. (2554). คุณภาพการใช้บริการรถไฟฟ้า [BTS] ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการการตลาด, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Crosby, P. B. (1988). Quality is Free. New York: McGraw – Hill.
Douglas, C. M. (2007). Design and Analysis of Experiments (6thed.). New York: John Willey & Sons Inc.
Gronroos, C. (1990). Relationship Approach to Marketing in Service Contexts: The marketing and Organizational behavior interface. Journal of Business Research, 20(1), 3–17.
Kotler, P (1997). Marketing management: analysis, planning implementation and control. (9th ed.). New Jersey: Asimmon & Schuster.
Kotler, P. (2010). Marketing management (The Millennium ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2008). Marketing: An introduction. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice – Hall.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). SERVQUAL: a multi – item secale for measuring consumer perception of service quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.
Pinar, M., Eser, Z., & Straser, S. (2010). Using Mystery Shopping to Compare the Service Quality of Banks in Turkey. Services Marketing Quarterly, 31(1), 1-26.
Zeithamal, V. A., Parasuraman, A. P., & Berry L. (1988). SERVQUAL: A multiple item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of retailing, 64, 12-40.