อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การ แรงจูงใจภายใน และประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.)
The Influence of Perceived Organizational Support for Creativity, Intrinsic Motivation, Creative Self-Efficacy, and Creative Self-Efficacy Affecting to Individual Creativity of the Public Sector Development Commission (OPDC) Civil Servant
Keywords:
ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล, การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การ, ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์, แรงจูงใจภายใน, individual creativity, perceived organizational support for creativity, creative self-efficacy, intrinsic motivationAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลกับประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและแรงจูงใจภายใน (2) การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและแรงจูงใจภายในที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ (3) อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การ แรงจูงใจภายใน และประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณรูปแบบการสำรวจมีแบบประเมินประกอบด้วย แบบประเมินแรงจูงใจภายใน การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การ ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อถือได้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างคือ ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) จำนวน 170 คน สำหรับการวิเคราะห์เชิงพรรณนาคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงอนุมานคือ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบมีขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลมีความสัมพันธ์เชิงแปรผันตามประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและแรงจูงใจภายใน (2) การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและแรงจูงใจภายในมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ (3) ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล The purposes of this research were to study: (1) the relationships between creative self-efficacy, perceived organizational support for creativity, intrinsic motivation, and individual creativity, (2) perceived organizational support for creativity, intrinsic motivation influencing creative self-efficacy, and (3) creative self-efficacy, perceived organizational support for creativity, and intrinsic motivation influencing individual creativity. This research employed a quantitative research considered as the survey model which was examined its quality through the validity and reliability as the instrument for data collection. The population was civil servant of the Public Sector Development Commission (OPDC). The researcher determined the size of sample group according to the Yamane’s calculation determined the sample group for not less than 144 persons at the error value of 5%, and the reliability of 95%. The researcher extended the samples for 170 persons more to increase the benefits of research and data analysis. The descriptive analysis included Frequency, Percentage, Mean, and Standard Deviation. The analysis by Inferential Statistics included Pearson’s correlation, and stepwise multiple regression analysis. Findings are as follows: (1) The researcher found that individual creativity was positively correlated with perceived organizational support for creativity, creative self-efficacy, intrinsic motivation, (2) Factoring influencing creative self-efficacy was perceived organizational support for creativity and intrinsic motivation, and (3) Factoring influencing individual creativity was creative self-efficacy.References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2547). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2554ก). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การ ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ SPUC National Conference 2011 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2554.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2554ข). “ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล เชาวน์อารมณ์(EQ) และเชาวน์ทางจิต(SQ)”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติหาดใหญ่วิชาการครั้งที่ 2 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2554.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2554ค). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล ศึกษานักศึกษาปริญญาโทคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ The National SMART Conference I ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2554.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2554ง). “ความคิดสร้างสรรค์ของบุคคลในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย กรณีศึกษา บริษัทผลิตตลับหมึกพร้อมผงหมึกเพื่อการส่งออกแห่งหนึ่ง”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาตินเรศวรวิจัย ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวรในวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2554.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2555ก). “ปัจจัยที่อิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ HR CONFERENCE ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 18-20 มกราคม 2555.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2555ข). “การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ที่อิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล”. บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาตินเรศวรวิจัย ครั้งที่ 8 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ 28-29 กรกฎาคม 2555.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2556). การรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การและประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์ที่อิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการโรงพยาบาลสงฆ์. ใน บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ศิลปากรวิจัย ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในวันที่ 16-18 มกราคม 2556.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน และรัชนิภา สายอุบล. (2556). ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และการรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ขององค์การที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ใน บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาการจัดการวิจัย 2013 เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในวันที่ 11 มกราคม 2556.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2557). ประสิทธิภาพภายในตนเองเชิงสร้างสรรค์และการรับรู้การสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี. ใน บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ในวันที่ 8-9 พฤษภาคม 2557.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2558). ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและประสิทธิภาพภายในตนเอง เชิงสร้างสรรค์ที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากรเทศบาลนครนครปฐม. ใน บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 15 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา ในวันที่ 5 - 6 พฤศจิกายน 2558.
เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน, ศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์, อภิชาติ กิตติศักดิ์นาวิน, ศรวิชา กฤตาธิการ, กฤษฎา พรรณราย. (2560). ความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากรสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสาร PULINET Journal, 4(2), 182-193.
มณีนุช จันทร์เที่ยง วรกัญญา ตันติไวทยกุล และอัจจญา อภิวาท. (2553). ผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานและ คุณลักษณะส่วนบุคคลต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในองค์กร. การศึกษาค้นคว้าอิสระการจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฐิตวดี เนียมสุวรรณ์ และเฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2555). รูปแบบภาวะผู้นำ แรงจูงใจภายในที่มีที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล. ใน บทความวิจัยนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ SPUC National Conference 2012 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2555.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.). (2566). ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด์ 4.0. สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ. วันที่ค้นข้อมูล 14 พฤศจิกายน 2566, เข้าถึงได้จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/thai-gov-system-context-thailand-4-0.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.). (2566). ระบบราชการ 4.0 ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน. วันที่ค้นข้อมูล 14 พฤศจิกายน 2566, เข้าถึงได้จาก https://opdc.go.th/file/reader/aXx8NTB8fGZpbGVfdXBsb2Fk
Amabile, T. M. (1983). The social psychology of creativity: a componential conceptualization. Journal of Personality and Social Psychology, 45(2), 357-376.
Amabile, T. M. (1988). A model of creativity and innovation in organizations. Research in Organizational Behavior, 19, 123-167.
Amabile, T. M., Conti, R., Coon, H., Lanzenby, J., & Herron, M. (1996). User’s Manual for KEYS: Assessing the work environment for creativity.
Amabile, T. M. (1999). How to kill creativity. In Harvard Business Review on Breakthrough Thinkng. (pp.1-28). Boston, MA: Harvard Business School Press.
Andriopoulos, C. & Lowe, A. (2000). Enhancing organizational creativity: The process of perpetual challenging. Management Decision, 38(10), 734-742.
Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The Exercise of control. New York: W.H. Freeman&Company.
Cumming, A., & Oldham, G. R. (1997). Enhancing creativity: managing work contexts for the high potential employee. California Management Review, 40(1), 22-38.
Cummings, L. L., Hinton, B. L., & Gobdel, B. C. (1975). Creative behavior as a function of task environment: impact of objectives, procedures, and controls. Academy of Management Journal, 18(3), 489-499.
DuBrin, A. J. (2010). Creativity, Innovation, and Leadership. In Principles of Leadership (pp. 348-379). Canada: South-Western.
Farmer, S. M., Tierney, P., & Kung-McIntryre, K. (2003). Employee creativity in Taiwan: an application of role identity theory. Academy of Management Journal, 46(5), 618-630.
Ford, C. M. (1996). A theory of individual creative action in multiple social domains. Academy of Mangement Review, 21(4), 1112-1142.
Guilford, J. P. (1980). Cognitive Styles: What are they?. Journal of Educational and Psychological Measurement, 40, 715-735.
Howkins, J. (2008). What are Creative Economies? And Why?. in Creative Thailand. (pp.21-25). Bangkok: Thailand Creative&Design Center (TCDC).
Kanter, R. M. (1983). The Change Masters: Innovation and Entrepreneurship in the American Corporation. New York: Simom & Schuster.
Kirton, M. J. (Ed.). (1994). Adapters and Innovators: Styles of creativity and Problem Solving. New York: Routledge.
Mumford, M. D., & Gustafson, S. B. (1988). Creativity syndrome: integration, application, and innovation. Psychology Bulletin, 103(1), 27-43.
McGregor, J. (2007). The world’s most innovative companies. Business Week Online, 4, p.9.
O’Reilly, C. A., Chatman, J., & Caldwell, D. F. (1991). People and organizational culture: aprofile comparison approach to assessing person-organization fit. Academy of Management Journal, 34(3), 487-561.
Oldham, G. R., & Cummings, A. (1996). Employee creativity: personal and contextual factors at work. Academy of Management Journal, 39(3), 607-634.
Powell, C. (2008). The challenges of the Creative Economy and the experiences in the UK. in Creative Thailand (pp. 35-39). Bangkok: Thailand Creative&Design Center (TCDC).
Scott, S. G., & Bruce, R. A. (1994). Determinants of innovative behavior: A path model of individual innovation in the workplace. Academy of Management Journal, 37(3), 580-607.
Stein, M. I. (1974). Stimulating Creativity. New York: Academic Press. Sternberg, R. J. (eds.). Handbook of creativity. New York: Cambridge University Press.
Suebwonglee, S. (2008). Reforming Thai economy with creativity. in Creative Thailand (pp.11-13). Bangkok: Thailand Creative & Design Center (TCDC).
Tierney, P., & Farmer, S. M. (2002). Creative self-efficacy: its potential antecedents and relationship to creative performance. Academy of Management Journal, 45(6), 1137-1148.
Tierney, P., Farmer, S. M., & Graen. (1999). An examination of leadership and employee creativity: The relevance of traits and relationships. Personnel Psychology, 52, 591-620.
Trompenaars, F., & Hampden-Turner, C. (2010). Riding the waves of Innovation. New York: McGraw-Hill.
Tushman, M., O’Reilly, C. A. (1997). Winning through Innovation: A Practical Guide to Lesding Organizational Change and Renewal. Boston, MA: Havard Business School Press.
Utterback, J. M. (1994). Mastering the Dynamics of Innovation. Boston, MA: Harvard Business School Press.
Woodman, R. W., Sawyer, J. E., & Griffen, R. W. (1993). “Toward a theory of organizational creativity”. Academy of Management Journal, 18(2), 293-321.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd Ed.). New York: Harper and Row.