การเรียนการสอนดนตรี ผีผา (Pipa) ในโรงเรียนประถมศึกษา เมืองกุ้ยโจว ประเทศจีน

Teaching pipa music in elementary school, guizhou, china

Authors

  • หยาง ซูจิง
  • คมกริช การินทร์

Keywords:

ผีผา, การเรียนการสอน, โรงเรียนประถม, กุ้ยโจว, ประเทศจีน, Pipa, Teaching and learning, Elementary school, Guizhou, China

Abstract

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่อง “การสอนดนตรี ผีผา ขั้นพื้นฐานสําหรับโรงเรียนประถม ศึกษาในเมืองกุ้ยโจว ประเทศจีน” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนการสอนดนตรีผีผา “Pipa” ในโรงเรียนประถมศึกษาในเมืองกุ้ยโจว ประเทศจีน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นข้อมูลภาคสนามเป็นหลัก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสังเกตการณ์ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จากครูสามคนของโรงเรียนประถมศึกษา ในเมืองกุ้ยโจว ประเทศจีน ผลการศึกษา มีดังนี้ รูปแบบการสอน ในปัจจุบันของโรงเรียนประถมศึกษาหลายแห่งยกเลิกชั้นเรียนดนตรี และได้มีการจัดชั้นเรียนดนตรีพื้นบ้านแทน โดยเครื่องดนตรี ผีผา (Pipa) เป็นเครื่องดนตรีจีนแบบดั้งเดิมชิ้นหนึ่งที่มีการจัดสอนให้กับนักเรียน รูปแบบการสอนประกอบด้วย 1. การสอนเทคนิคการใช้มือ มือขวาใช้ดีด เทคนิคของมือขวา ประกอบไปด้วย ตาล (tan) เตี่ยว (tiao) หลุนชื่อ (lunzhi) เซา (sao) และ ฟู (fu) ส่วนมือซ้ายใช้ในการบังคับเสียงจากสาย เทคนิคของมือซ้าย ประกอบด้วย ตุ่ย (tui) ลา (la) หัว (hua) และ โหรว (rou) 2. การสอนพื้นฐานแบบรวม เป็นการสอนวิธีการบรรเลงพื้นฐานแบบกลุ่ม 3. การสอนแบบตัวต่อตัวและรวมวงการสอนแบบตัวต่อตัวและรวมวง เป็นการสอนแบบตัวต่อตัว รายคนสำหรับคนที่มีความสามารถแตกต่างกัน และสอนการปฏิบัติแบบรวมวงเพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะการบรรเลงร่วมกับคนอื่น และ 4. การสอนแยกกลุ่มแบบพิเศษเป็นการรวมกลุ่มเด็กที่มีความสามารถใกล้เคียงกันเพื่อสอนเทคนิคการบรรเลงเฉพาะของผีผา  This article is part of a thesis titled “Basic Pipa Music Teaching for Elementary Schools in Guizhou, China.” The objective was to study the teaching pattern of “Pipa” music instrument in elementary schools in Guizhou, China. This study employed qualitative research methods, focus on fieldwork data. The tools used in the study were questionnaires and observations form. Collecting data from the sample included three teachers at elementary school in Guizhou, China, the results were as follows. The current teaching style of many elementary schools has canceled music classes, and a traditional music class was held instead. The Pipa is one of the traditional Chinese instruments taught to students. Teaching formats include: 1. Teaching techniques; for right hand. used right hand for play. right hand techniques consist of tan tiao lunzhi sao and fu. Used the left hand to control the sound from the string. The techniques of the left hand consist of tui la hua and rou. 2. Integrated basic teaching; The teacher teaches student how to perform the basics as a group. 3. One-on-one and ensemble teaching; Teaching Individual for people with different abilities, and to teach unified practice to give students the skills to play with others. 4. A special separate group teaching; This teaching involves groups of children with similar abilities to teach the spirit technique specific to the Pipa.

References

Wang Yinan. (2018). A brief history of the history of the Silk Road. Art Review, 571(20), 69-70.

Zhang Jingmei. (2001). Establishing a great education concept and revitalizing national education. Journal of Guizhou University for Nationalities (Philosophy and Social Sciences) (4).

Downloads

Published

2022-10-28