Nurses, Cholesterol, and small work sites : Innovative community intervention comparisons

การเปรียบเทียบผลของการใช้รูปแบบการพยาบาลในชุมชน เพื่อลดคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดของคนงานในเขตเมืองและชนบท

Authors

  • วรรณรัตน์ ลาวัง

Keywords:

การพยาบาล

Abstract

          Two small work sites, one rural and one urban, were utilized in a pilot test of a nursing intervention designed to reduce serum cholesterol values in employees at these work sites. Community health nursing faculty and students participated in data collection, analysis, and intervention at each of the work sites. A mobile cardiovascular risk factor identification program used a standardized health risk appraisal instrument, measurement of blood pressure with an aneroid blood pressure cuff, determination of a body mass index (BMI) through height and weight measurement, identification of the transtheoretical change stage related to diet and exercise behaviors, and analysis of a fasting of blood for total cholesterol via the Abbott Vision Analyzer portable machine. The rural workers exhibited a lack of knowledge about personal cholesterol values and had experienced no previous cardiovascular screening for risk factors. The urban workers had previous experience with some aspects of cardiovascular screening : many were aware of previously identified personal risk factors. Once current personal risk factors were identified, "both employee groups received an education-based individual interview focused on diet and exercise behavior changes that are known to reduce cholesterol and lower cardiovascular risk factors. One year after the intervention occurred, the rural workers' serum cholesterol values were significantly reduced while those of the urban workers were essentially the same.  พยาบาลอนามัยชุมชนได้ทําการศึกษาผล ของการใช้รูปแบบการพยาบาลต่อการลดระดับ คลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดของคนงาน และเปรียบเทียบความแตกต่าง ของระดับคลอเรสเตอรอล ระหว่างคนงานในเขตชนบทและเมือง โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างคนงานจากเขตชนบท 1 แห่ง และเขตเมือง 1 แห่ง ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินกลุ่มตัวอย่างคือ แบบประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ระดับความดันโลหิต ค่าดัชนีมวลร่างกาย (BMI) จากการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารและออกกําลังกาย และระดับคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือด จากข้อมูลเบื้องต้น พบว่า คนงานในเขตชนบทยังขาดความรู้ เกี่ยวกับเรื่องคลอเรสเตอรอล และยังไม่มีประสบการณ์ เกี่ยวกับการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ส่วนคนงานในเขตเมืองจะมีความสนใจ เรื่องคลอเรสเตอรอล และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการ คัดกรองปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่า ภายหลังการใช้การดําเนินการทางพยาบาล คือให้ความรู้พื้นฐาน และแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารและออกกําลังกาย พบว่า คนงานในเขตชนบทมีระดับ คลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดลดลง อย่างมีนัยสําคัญ ในขณะที่คนงานในเขตเมืองมี ระดับคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดไม่แตกต่างจาก ก่อนได้รับความรู้

Downloads

Published

2022-06-15