นวัตกรรมทางการพยาบาล: เครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย

Nursing Innovation : A Tool for Improving Quality of Care

Authors

  • อาภรณ์ ดีนาน

Keywords:

การพยาบาล, การพยาบาลผู้ป่วย, การดูแลผู้ป่วย

Abstract

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับนวัตกรรมทางการพยาบาล ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมความหมาย การแบ่งชนิดของนวัตกรรมทางการพยาบาลซึ่งแบ่งตามสาระของเนื้อหาของกิจกรรมได้แก่ นวัตกรรมที่มุ่งสร้างความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ นวัตกรรมที่มุ่งสร้างเสริมความคิดและปัญญา นวัตกรรมที่ใช้หลักการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ นวัตกรรมที่ใช้หลักการรับรู้ของประสาทสัมผัสนวัตกรรมที่ใช้หลักการของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล นอกจากนั้นการสร้างนวัตกรรมทางการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีหลักการสร้างและกระบวนการที่ชัดเจน รวมทั้งต้องมีกระบวนการทดสอบเพื่อประกันความปลอดภัยก่อนที่จะนำไปใช้ในสถานการณ์จริง  The objective of this article is to review literature related to nursing intervention including definition, type of nursing intervention, nursing intervention development, and testing of nursing intervention. Types of nursing innovation are based on content of innovation including health education, cognitive intervention, movement intervention, sensory intervention, and social intervention. The effective nursing innovation should be established based on principle of innovation development. The safety and effectiveness of innovation should warrantee before utilizations.

References

จิราภรณ์ สิงหเสนีย์, วัลภา คุณทรงเกียรติ, อาภรณ์ ดีนาน, และเขมารดี มาสิงบุญ. (2548). ผลของโปรแกรมการจัดการกับความปวดต่อระดับความปวดและความพึงพอใจในการจัดการกับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ราชบัณฑิตตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: นานมีบุคพับลิเคชั่น.

Buleheck, G.M., Butcher, H.R., & Dochterman, J.M. (eds.) (2008). Nursing intervention classification (NIC) (5th ed.). St. Louis, MO : Mosby Elsevier.

Dejong, G., Horn, S.D., Gasaway, J.A., Slavin, M.D., & Dijkers, M.P. (2004). Toward taxonomy of rehabilitation intervention: Using an inductive approach to examine the “black box” of rehabilitation. Achieves of Physical Medicine Rehabilitation, 85, 678-686.

Forbes, A. (2009). Clinical intervention research in nursing. Nursing Studies, 46, 557-568.

Gordon, M. (1987). Nursing diagnosis. New York,: McGraw Hill.

McClosky, J.C., & Bulechek, G.M. (1996). Nursing intervention : Effectiveness nursing treatments (3rd ed.). Philadelphia : W.B. Saunder.

National Institute of Health. (2008). Retrieved May 21, 2010 from HYPERLINK http://www.nlm.nih.gov/services/ctphases.html

Peplau, H.E. (1988). The art and science of nursing : Similarities, differences, and relations. Nursing Science Quarterly, 1, 8-14.

Roger, E.M. (1995). Diffusion of innovations (4th ed.). New York : The Free Press.

Snyder, M. (1996). Independent nursing interventions (2nd ed.). New York : Delmar Publishers.

Downloads

Published

2021-09-22