ความปวดและการพยาบาลเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง

Pain and Nursing Care for Pain Management in Cancer Patients

Authors

  • ชุติมา ฉันทมิตรโอภาส

Keywords:

มะเร็ง, ผู้ป่วย, การพยาบาล, การจัดการความเจ็บปวด, ความเจ็บปวด, ผู้ป่วยมะเร็ง, cancer patients, Cancer

Abstract

ความปวดเป็นประสบการณ์อาการที่พบบ่อยและทำให้เกิดความทุกข์ทรมานซึ่งพบได้ในผู้ป่วยมะเร็งทุกวัยและเกิดทกระยะการดำเนินโรค อุปสรรคที่สำคัญในการจัดการความปวดเกิดจากการที่บุคลากรทางการแพทย์ขาดความรู้ในการจัดการความปวด ความกลัวผลข้างเคียงจาการใช้ยาบรรเทาปวด ความกลัวการติดยาเสพติดภายหลังการใช้ยาแก้ปวด และการบริหารจัดการยาแก่ปวดที่ไม่เหมาะสม บทความนี้กล่าวถึง สาเหตุและปัจจัยเสริมความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง ผลกระทบต่อความปวดต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็ง และแนวทางการจัดการอาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งซึ่งกล่าวถึงการจัดการอาการปวดโดยวิธีการไม่ใช้นา การลดปัจจัยเสริมความปวด การใช้การปรับความคิดและพฤติกรรม รวมทั้งการบริหารจัดการยาแก้ปวด เป็นบทบาทสำคัญของพยาบาลในการบรรเทาอาการปวด ที่จะช่วยเพิ่มความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้ป่วยมะเร็ง  Pain is a common and distress symptom experienced by cancer patients of all ages and all stages of cancer. The major barriers to adequate cancer pain management based on the lack of professional knowledge in pain management, fear of side effects from pain relief, fear of addiction and inappropriate of pain relief. This article aims to describe of pain on quality of life, and promotion of knowledge to manage cancer pain. The literature review demonstrated that non-pharmacologic management by reducing those factors and using cognitive behavior therapy and pharmacological management by nurses. Nurses play important roles to promote pain relief, activity of daily living and quality of life of persons with cancer pain.

References

จิราภี สุนทรกุล ณ ชลบุรี สมจิตหนุเจริญกุล และวราภรณ์ ไวคกุล. (2004). ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง. วารสารวิจัยทางการพยาบาล, 8 (3), 173-181.

จิรามาศ ชูทองรัตน์. (2551). ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลการจัดการความเจ็บปวดด้วยตนเองต่อความเจ็บปวดและความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็ง หน่วยระงับปวด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชัชชัย ปรีชาไว. (2552). การประเมินและวัดความปวด. ใน ศศิกานต์ นิมมานรัชต์, วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, และชัชชัย ปรีชาไว (บรรณาธิการ), ความปวดและการระงับปวด = Pain & pain management 2 (หน้า 27-56). สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์.

เทวิกา เทพญา. (2546). ผลการนวดแผนไทยประยุกต์ต่อความปวดและความทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นาดา ลัคนหทัย ทิพาพร วงศ์หงส์กุล และวิจิตร ศรีสุพรรณ. (2010). ความแตกต่างระหว่างเพศสภาวะกับประสบการณ์ความเจ็บปวดจากโรคมะเร็งในไทย: การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง. พยาบาลสาร, 37 (4), 110-126

Al-Atiyyat, N.M.H. (2009). Cultural diversity and cancer pain. Journal of Hospice and Palliative Nursing, 11 (3), 154-164.

Blumenthal, D. T. (2009). Assessment of neuropathic pain in cancer patients. Current Pain and Headache Reports, 13 (4), 282-287.

Christensen, B. L. (2001). Care of the patient with cancer. In B. L. Christensen, E. O. Kockrow (Eds.), Foundations and adult health nursing (6th ed. Pp. 2014-2043). St. Louis, Mo.: Mosby Elsevier.

Cleary, J. F. (2000). Cancer pain management. Journal of The Moffitt Cancer Center, 7 (2), 120-131.

Davis, M. P., Khoshknabi, D., & Yue, G. H. (2006). Management of fatigue in cancer patients. Current Pain and Headache Reports, 10 (4), 260-269.

Downloads

Published

2021-07-30