Early Outcomes After Hip Fracture Among Women Discharged Home and to Nursing Homes

ผลในระยะแรกภายหลังที่มีภาวะข้อสะโพกหักระหว่างสตรีที่กลับไปอยู่บ้าน กับสตรีที่กลับไปอยู่สถานพักฟื้น

Authors

  • ยุพิน ถนัดวณิชย์

Keywords:

ภาวะข้อสะโพกหัก, สถานพักฟื้น, Nursing Homes

Abstract

          In a prospective design, early outcomes after hip fracture were compared in three groups of formerly community-living women : those discharged home from the hospital (n = 58), those discharged to a nursing home (NH) and staying there  1 month (n = 23), and those staying > 1 month (n = 39), Data were collected on mobility and mood states prior to hospital discharge and at 2, 8, and 14 weeks. Overall recovery ratings were obtained at the latter three times : readiness for discharge from hospital and nursing home also was examined. The short-stay group did as well in regaining mobility as the home-discharge group and both rated their overall recovery similarly. Affective mood distress was associated with discharge destination site. The short-stay NH group had a greater proportionate of designated caregivers than either of the other two groups. Research is needed to identify features of nursing homes as well as characteristics of patients that contribute to  positive outcomes in the large number of hip fracture patients currently discharged to these institutions.  การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบไปข้างหน้า (Prospective Design) เกี่ยวกับผลในระยะแรก ภายหลังที่มีภาวะข้อสะโพกหัก โดยเปรียบเทียบผลในสตรี 3 กลุ่ม ที่เคยอาศัยอยู่ในชุมชนมาก่อน กลุ่มแรก เป็นสตรีที่ออกจากโรงพยาบาลกลับไปอยู่ที่บ้าน จํานวน 58 คน กลุ่มที่ 2 เป็นสตรีที่ออกจากโรงพยาบาลไปอยู่ สถานพักฟื้นเป็นเวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 เดือน จํานวน 23 คน และกลุ่มที่ 3 เป็นสตรีที่ออกจาก โรงพยาบาลไปอยู่สถานพักฟื้นมากกว่า 1 เดือน 39 คน ทั้งนี้ ได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการ เคลื่อนไหว และสภาวะอารมณ์ก่อนออกจากโรงพยาบาล และในสัปดาห์ที่ 2, 8 และ 14 และได้รวบรวมข้อมูล  อัตราการฟื้นฟูสภาพภายหลังออกจากโรงพยาบาล เกี่ยวกับความพร้อมสําหรับจําหน่ายจากโรงพยาบาล และสถานที่พักฟื้นในช่วงสัปดาห์ดังกล่าวทั้ง 3 ช่วง ผลการศึกษาพบว่า สตรีในกลุ่มที่ออกจากโรงพยาบาล ไปอยู่บ้าน และไปอยู่สถานพักฟื้นเป็นเวลาน้อยกว่า หรือเท่ากับ 1 เดือน มีความสามารถในการเคลื่อนไหว ดีเท่ากัน และมีอัตราการฟื้นฟูสภาพโดยรวมคล้ายคลึงกัน ส่วนผลของความตึงเครียดทางอารมณ์นั้นมีความ สัมพันธ์กับสถานที่ที่จะไป พักฟื้นหลังจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล และยังพบว่าสตรีที่ออกจากโรงพยาบาล ไปอยู่สถานพักฟื้นเป็นเวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 เดือน มีอัตราการขาดแคลนผู้ดูแลมากกว่าอีก 2 กลุ่ม งานวิจัยนี้ควรเสนอลักษณะของสถานพักฟื้นและลักษณะ ของผู้ป่วยข้อสะโพกหักที่ผลลัพธ์ในทางที่ดี ที่เพิ่งจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล ในขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้น

Downloads

Published

2022-06-09