Transitions in the lives of elderly women who have sustained hip fractures

ระยะเปลี่ยนผ่านในชีวิตของสตรีสูงอายุที่มีภาวะข้อสะโพกหัก

Authors

  • ยุพิน ถนัดวณิชย์

Keywords:

ภาวะข้อสะโพกหัก, สตรีสูงอายุ, elderly women, hip fractures

Abstract

          Hip fractures represent a major health problem within the older population, especially for elderly, white women. As the older woman transitions through the recovery process following hip fracture, her ability to meet basic needs, fulfil usual roles, and maintain well- being is threatened. Despite the rehabilitation provided to these women, studies suggest that hip fractures frequently result in permanent decline in functional status. Little is known about what characterizes those few elderly women who do recover to their previous level of functioning. In this context, a study was designed to identify factors which promote function and enable a successful transition following hip fracture. A total of 15 women ranging in age from 72 to 82, who had returned home alone following care in a Midwestern subacute unit, participated in three focus groups. The data were analysed using the grounded theory method. The findings revealed that the women were confronted an array of problems, which were labelled function-inhibiting factors. To overcome these problems, the women mobilized their adaptive approaches to life. In addition, they identified various interdisciplinary interventions, labelled function-promoting factors, which helped to provide a successful transition. From these findings, a programme of interdisciplinary interventions was identified which could be implemented in subacute units and tested to establish its effectiveness in promoting a successful transition following hip fracture.  ภาวะข้อสะโพกหักเป็นปัญหาสุขภาพที่สําคัญใน สตรีผู้สูงอายุที่มีผิวขาว ในช่วงชีวิตที่มีการเปลี่ยนผ่าน เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูสภาพภายหลัง ที่มีภาวะข้อสะโพกหักของสตรีผู้สูงอายุ ความสามารถในการตอบ  สนองความต้องการพื้นฐาน ความสามารถในการทําบทบาท หน้าที่ตามปกติให้สมบูรณ์และการคงไว้ซึ่ง ความผาสุกของชีวิตสตรีผู้สูงอายุนั้นได้ถูกคุกคาม แม้ว่ามีการจัดการบริการการฟื้นฟูสภาพให้กับสตรี ผู้สูงอายุเหล่านี้ และบ่อยครั้งที่พบว่าภาวะข้อสะโพกหัก ได้ส่งผลให้สตรีผู้สูงอายุมีความสามารถในการทํา หน้าที่ลดลงอย่างถาวร มีงานวิจัยน้อยมากที่ศึกษาคุณลักษณะ หรือปัจจัยที่ทําให้ความสามารถ ในการทําหน้าที่ของสตรีผู้สูงอายุกลับคืนสู่สภาพ/ระดับปกติ เหมือนก่อนที่จะมีภาวะข้อสะโพกหัก การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้กลุ่มตัวอย่าง มีความสามารถในการทําหน้าที่และช่วยให้ สามารถประสบความสําเร็จในช่วงที่มีการเปลี่ยนผ่าน ภายหลังที่มีภาวะข้อสะโพกหัก การศึกษาครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จํานวน 15 คน อายุอยู่ระหว่าง 72-82 ปี เป็นกลุ่มสตรีผู้สูงอายุที่เพิ่งกลับบ้านคนเดียว หลังจากการได้รับการดูแลในหน่วยกึ่งผู้ป่วยหนักในตอนกลาง ของภาคตะวันตกในสหรัฐอเมริกา และเข้าร่วมการอภิปรายกลุ่ม 3 กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี การทฤษฎีเชิงอุปมาน (Grounded Theory) ผลการศึกษาพบว่าสตรีเหล่านี้ต้องเผชิญกับปัญหา  มากมายที่มาจากปัจจัยยับยั้ง ความสามารถในการทําหน้าที่ การแก้ปัญหาเหล่านี้ได้โดยมุ่งไปที่การปรับ เปลี่ยนชีวิต นอกจากนี้การศึกษานี้ยังได้มีการระบุ กิจกรรมการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่จัดทําร่วมกันโดย สหสาขาวิชาเพื่อช่วยให้สตรีผู้สูงอายุ ประสบความสําเร็จในช่วงชีวิตที่มีการเปลี่ยนผ่าน เรียกว่าปัจจัยส่งเสริมความสามารถในการทําหน้าที่จากผลการ ศึกษาครั้งนี้พบว่าโปรแกรมในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดทําร่วมกันขึ้นโดยสหสาขาวิชาสามารถนําไปใช้ในหน่วยกิ่งหอผู้ป่วยหนักได้ และโปรแกรมนี้ยังได้รับการทดสอบประสิทธิผล ในการส่งเสริมความสําเร็จของระยะเปลี่ยนผ่านภายหลังที่มีภาวะข้อสะโพกหัก

Downloads

Published

2022-06-09