องค์ประกอบของทางรอดของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทยในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก

COMPONENTS OF SURVIVAL IN THE THAI AUTOMOTIVE PARTS INDUSTRY IN THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR

Authors

  • ธชกร แผ้วพลสง
  • ธีทัต ตรีศิริโชติ

Keywords:

อุตสาหกรรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์, เขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยแบบผสม (Mix method) ด้วยการใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยใช้แบบสัมภาษณ์สำหรับเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth interview) และใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อใช้สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบทางรอดของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้บริหารหรือเจ้าของบริษัทชิ้นส่วนยานยนต์ที่เป็นคนไทย และผู้บริหารบริษัทยานยนต์ จำนวน 1,460 ราย โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis หรือ EFA) ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของของทางรอดของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์สายพันธุ์ไทย ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย 15 องค์ประกอบ 1) การมุ่งเน้นความมีมาตรฐานในระดับสากล 2) ศักยภาพในการแข่งขันขององค์กร 3) การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม 4) นโยบายจากภาครัฐ 5) ความสัมพันธ์กับลูกค้า 6) การจัดหาและการสร้างพันธมิตร 7) โครงสร้างองค์กร 8) ความรับผิดชอบต่อสังคม 9) การปรับตัวขององค์กร 10) การเพิ่มประสิทธิภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ 11) การวิจัยและพัฒนาด้านนวัตกรรม 12) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้ากับลูกค้า 13) การสนับสนุนจากภาครัฐ 14) ผู้นำแบบสร้างสรรค์นวัตกรรม 15) ความยุติธรรมในองค์กร  This research is a mixed method, using qualitative research and quantitative research by using interview forms for data collection tools from the method of in-depth interview and questionnaire to ask questions about the survival components of the Thai auto parts industry in Eastern Economic Corridor. The population that used in this research is executives or owners of Thai auto parts companies total 1,460 automotive company executives by using exploratory Factor Analysis (EFA). The results of the research showed that the components of the survival of the Thai auto parts industry in the Eastern Economic Corridor consist of 15 components: 1) Focusing on international standards 2) The competitiveness of the organization 3) Participatory management 4) Government policy 5) Customer relations 6) Sourcing and alliances 7) Organizational structure 8) Social responsibility 9) Organizational adjustment 10) Human resource efficiency 11) Research and innovation development 12) Participation in product development with customers 13) Government support 14) Innovative leader 15) Justice in the organization.

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2561). สภาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. วันที่ค้นข้อมูล 20 มีนาคม 2562 เข้าถึงได้จาก http://data.thaiauto.or.th/iu/สถิติยานยนต์/สถิติยานยนต์ไทย/ตารางสถิติยานยนต์/tabid/63/Default.aspx

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). สถานการณ์อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนต่างประเทศ. วันที่ค้นข้อมูล 22 มีนาคม พ.ศ.2561 เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/qgdp/data4_07/All_tableQ4_2007.xls

วาสนา เจริญศรี. (2558). การปรับปรุงการวางแผนการสั่งซื้อในปริมาณที่เหมาะสมและการจัดการวัตถุดิบคงคลังในโซ่อุปทาน กรณีศึกษา บริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. งานนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, คณะโลจิสติกส์, มหาวิทยาลัยบูรพา

วีรชัย ตันติวีระวิทยา. (2553).การจัดองค์การให้มีประสิทธิภาพ. วันที่ค้นข้อมูล 22 มีนาคม พ.ศ.2561 เข้าถึงได้จาก http://isc.ru.ac.th/data/BA0000645.doc.

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2546). หลักการเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: ประชาชน.

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2561). 5 ยุทธศาสตร์รักษาแชมป์อุตฯ ชิ้นส่วนยานยนต์ไทย. วันที่ค้นข้อมูล 22 มีนาคม พ.ศ.2561 เข้าถึงได้จากhttp://library.dip.go.th/multim5/News/2557/N07989.pdf

สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย. (2560). ศักยภาพที่แท้จริงของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย.

Chan, S., & Mak, W. M. (2014). The impact of servant leadership and subordinates’ organizational tenure on trust in leader and attitudes. Personnel Review, 43(2), 272-287.

EFQM. (2010). The European Foundation for Quality Management Excellence Model. Retrieved October 9, 2010, from http://www.efqm.org/en.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc.

Hult, G. T. M., Hurley, R. F., & Knight, G.A. (2004). Innovativeness: Its antecedents and impact on business performance. Industrial Marketing Management, 33, 429-438.

MacLean, G. N. (2006). Organization development: Principles processes performance. San Francisco: Berrett-Koehler.

Mason, C., Griffin, M., & Parker, S. (2014). Transformational leadership development: Connecting psychological and behavioral change. Leadership & Organization Development Journal, 35(3), 174–194.

Mclean, Gary N. (2006). Organization development: principles, processes, performance. San Francisco: Berrett-Koehler.

Mesu, J., Van Riemsdijk, M., & Sanders, K. (2013). Labour flexibility in SMEs: the impact of Leadership. Employee Relations, 35(2), 120-138.

Michael, E. P. (1990). The competitive advantage of nations. New York: Free Press.

Ming-Tien Tsai, Nai-Chang Cheng (2012). Understanding knowledge sharing between IT professionals - an integration of social cognitive and social exchange theory. Behaviour & IT, 31(11), 1069-1080

Nigel Vaughan Smith. (2012). Equality, Justice and Identity in an Expatriate/Local Setting: Which Human Factors Enable Empowerment of Filipino Aid Workers?. Journal of Pacific Rim Psychology. 6(2), 57-74.

Pascale, R., & Athos, A. (1981). The art of Japanese management. Harmondsworth: Penguin.

Peters, Thomas J. & Waterman, Robert H. Jr. (2004). In search of excellence (2nd ed.). London: Profile Book.

Porter, M. E. (1990). The competitive advantage of nations. New York: Free Press.

Shelley, D. D., Francis, J. Y., Leanne, E. A., & William, D. S. (2004). Transformational leadership and team performance. Journal of Organizational Change Management, 17(2), 177-193.

Thomas, R. N., Pigozzi, B. W., & Sambrook, R. A. (2005). Tourist carrying capacity measures:

Downloads

Published

2022-11-25