แนวคิดวิเคราะห์ โครงสร้างอำนาจท้องถิ่นในประเทศไทย
Abstract
การศึกษาโครงสร้างอำนาจท้องถิ่นในประเทศไทย มีพัฒนาการในการนำ แนวคิดวิเคราะห์มาเป็นเครื่องมือในการศึกษาหลากหลายแนววิเคราะห์ โดย แนวคิดที่มีบทบาทมากที่สุดคือ แนวคิดชนชั้นนำและแนวคิดระบบอุปถัมภ์ นอก เหนือจากนี้มีการนำแนวคิดวิเคราะห์อื่นมาร่วมศึกษาด้วย อาทิ แนวคิดพหุนิยม แนวคิดพหุภาคี แนวคิดระบบเครือญาติ แนวคิดระบบชนชั้น และแนวคิดเรื่องกลุ่ม การเมืองหรือฝักฝ่าย ทั้งนี้เพื่อให้เห็นถึงสภาพโครงสร้างอำนาจท้องถิ่นที่ชัดเจน แนวคิดที่ควรคำนึงถึงในการนำมาศึกษาประกอบได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับการสะสม ทุนเบื้องต้น แนวคิดเกี่ยวกับโครสร้างอำนาจรัฐ และแนวคิดเรื่องอุดมการณ์และ การครองอำนาจนำStudying local power structures in Thailand has brought the analysis concept to be a tool to study various political factors. The most active concepts are Elitism and Patronage. Moreover, Pluralism, Multilateralism, Corporatism, Kinship system, Class system and Political parties or factions are analyzed using this concept. In order to see the local power structures clearly, additional factors should also be considered; Primitive accumulation of capital, State power structure, ideology and HegemonyDownloads
Issue
Section
Articles