แนวคิดว่าด้วยการอธิบายการเมืองของชาวนา: จาก “เศรษฐธรรม” ถึงข้อถกเถียงร่วมสมัย

Authors

  • ประภาส ปิ่นตบแต่ง

Abstract

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพิจารณาและวิเคราะห์แนวคิดในการ อธิบายพฤติกรรมทางการเมืองของชาวนา จำนวน 5 แนวคิด ได้แก่ 1) แนวการ วิเคราะห์ประวัติศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ 2) แนวการวิเคราะห์ด้วยโมเดล เชิงปริมาณหรือเศรษฐมิติ 3) แนวการศึกษาตัวแบบการคำนวณผลได้ผลเสีย 4) แนว “ชาวนาศึกษา” ของสำนัก “เศรษฐธรรม” และพัฒนาการข้อถกเถียง และ 5) แนวการศึกษาในมิติองค์กรทางการเมือง ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นว่า แต่ละแนวคิดต่างมีจุดอ่อนและจุดแข็งในการอธิบาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุค โลกาภิวัตน์ที่สังคมชนบทเชื่อมโยงกับสังคมเมืองอย่างแยกจากกันไม่ออกนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่แต่ละแนวคิดจะต้องมีการปรับเปลี่ยน พร้อม ๆ กับผสม ระหว่างแนวคิดต่าง ๆ เพื่อให้สามารถอธิบายถึงพฤติกรรมทางการเมืองของ ชาวนาในปัจจุบันที่มีความซับซ้อนได้อย่างสอดคล้องThis article aims to consider and analyze five approaches for explanation of peasants’ political behaviors-these are 1) comparative historical perspective, 2) quantitative analysis, 3) rational choice model, 4) approach of peasant studies of the school of moral economy and development of their debates, and 5) approach of political organization analysis. The author shows that each approach occupies strengths and weaknesses in its explanation-especially, the rural societies in the era of globalization inseparably link to the urban societies. As a result of this, it is necessary for each approach to be adapted and combined together in order to explain peasants’ much more complex political behaviors at present appropriately.

Downloads

Published

2022-10-30